Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีที่มีโรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การพยาบาลสตรีที่มีโรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์
ไวรัสตับอักเสบบี
การติดเชื้อเฉียบพลัน (Acute hepatitis B infection) การติดเชื้อระยะแรก ระยะเวลาน้อยกว่า 6 เดือน
การติดเชื้อเรื้อรัง (Chronic hepatitis B infection)
การติดเชื้อ ระยะเวลามากกว่า 6 เดือน
*ตับอักเสบเรื้อรัง (Chronic hepatitis)
มีเชื้อในร่างกาย และตรวจ
เลือดพบค่าการทำงานของตับผิดปกติ
*พาหะ (Carrier)
มีเชื้อในร่างกาย ไมjมีอาการ แต่ยัง
สามารถแพร่เชื้อได้
การติดต่อ: ทางเลือด เพศสัมพันธ์
นำไปสู่การเป็นโรคตับแข็งและมะเร็งตับ
มารดามีอาการตับอักเสบบีเฉียบพลันขณะตั้งครรภ์ มีโอกาสติดไปที่ลูกมากกว่าที่เป็นเรื้อรังหรือพาหะธรรมดา
ทารกที่ติดเชื้อจากมารดาที่เป็นพาหะมักไม'มีอาการแต'จะกลายเป็นโรคตับอักเสบบีเรื้อรังต่อไป
สตรีที่ตั้งครรภ์และมีภาวะตับอักเสบบีเรื้อรัง คือตรวจเลือดพบในกระแสเลือด มีโอกาสถ่ายทอดไปยังลูกที่เกิดออกมาได้
ทารกแรกเกิดส่วนใหญ่ติดเชื้อจากการสัมผัสสารคัดหลั่งระหว่างคลอด
การรักษา
การป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ลูก
การรักษาส่วนใหญ่จึงยังเป็นเพียงการป้องกันโดยให้ Immunoprophylaxis คือทารกแรกคลอดได้รับ HBV + Hepatitis B Immunoglobulin (HBIG) ภายใน 12 ชั่วโมงหลังคลอด ในทารกที่มารดาตรวจพบ HBsAg positive
โรคไวรัสซิกก้า (Zika fever)
เชื้อไวรัสซิกาเป็นเชื้อที่มียุงลายเป็นพาหะซึ่งเป็นยุงชนิดเดียวกับยุงที่เป็นพาหะ
ของโรคไข้เลือดออก และไข้เหลือง
สาเหตุหลักของการติดเชื้อเกิดจากการโดนยุงลายที่มีเชื้อไวรัสซิกากัดuช่องทางอื่นๆ ที่อาจเป็นไปได้ เช่น ผ่านทางเลือด เพศสัมพันธ์ การแพร่จากมารดาที่ป่วยสู่ทารกในครรภ์
อาการ
ระยะฟักตัว ประมาณ 3-12 วัน มีผื่นคัน (Maculopapular)
มีไข้ มีอาการปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ วิงเวียนศีรษะ ตาแดง
ในหญิงตั้งครรภ์ซึ่งอาจจะส่งผลให้ทารกที่คลอดมามีศีรษะเล็กกว่าปกติ
ในระยะ 7 วันที่เริ่มมีไข้ จะมีปริมาณของเชื้อไวรัสในกระแสเลือดจำนวน
มาก
ภาวะศีรษะเล็กแต่กำเนิด (Microcephaly)
ทารกที่เกิดภาวะนี้ขึ้นจะมีพัฒนาการช้าในทุกด้าน
การวินิจฉัย
การตรวจสารพันธุกรรมด้วยวิธีพีซีอาร์ (Virological PCR tests)
การตรวจหาภูมิต้านทานต่อเชื้อหรือแอนติบอดีด้วยวิธีอิไลซ่า (Elisa)
การตรวจปัสสาวะและสารคัดหลั่งในร่างกาย
การรักษาผู้ป่วย
ดูแลรักษาตามอาการเป็นหลัก เนื่องจากโรคซิกายังเป็นโรคที่ไม่มีการรักษาที่เฉพาะเจาะจง และยังไม่มีวัคซีนป้องกัน
ผู้ป่วยควรพักผ่อนให้เพียงพอ ดื่มน้ำมากๆ
uรับประทานยาลดไขUในกลุ่มพาราเซตามอล ไม่ควรรับประทานยาแอสไพรินหรือยากลุ่มต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์(NSAIDs)
การดูแล
หญิงตั้งครรภ้ที่มีอาการของเชื้อซิกา
รีบตรวจเลือดและปัสสาวะส่งห้องปฏิบัติการ เพื่อยืนยันว่าติดเชื้อจริงหรือไม
ทำอัลตราซาวน์ทันที เพื่อดูความผิดปกติของทารก
อัลตราซาวน์ติดตามไปจนกว่าจะคลอด เพื่อดูว่ามีศีรษะเล็กจริงหรือไม่ และหากพบว่าศีรษะเล็กจริง ให้ส่งผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางดูแลต่อ
กลุ่มที่ไม่มีอาการ
จะมีการอัลตราซาวน์ 2 ครั้ง คือ ชBวงอายุครรภjที่ 18-20 สัปดาห์ และ 28-30 สัปดาห์
ซิฟิลิส (Syphilis)
เกิดจากการติดเชื้อ Treponema pallidum
สามารถติดเชื้อจากมารดาไปยังทารกได้โดยการแพร่ผ่านรกโดยตรง และขณะคลอดทางช่องคลอดที่มีรอยโรค ผลต่อทารกทารกบวมน้ำ ทารกเป็นซิฟลิสโดยกำเนิด
การวินิจฉัย
การรักษา
ซิฟลิสช่วงต้น (Early infectious stage) ได้แก่ ซิฟลิสปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และ ระยะแฝงช่วงต้น
ซิฟลิสช่วงปลาย (Late infectious stage) ได้แก่ ซิฟลิสระยะแฝงช่วงปลาย ซิฟลิสตติยภูมิ ซิฟลิสระบบหัวใจและหลอดเลือด ยกเว้น ซิฟลิสระบบประสาท
Benzathine penicillin G รวม 7.2 ล้านยูนิต, แบ่งให้ 3 ครั้ง ครั้งละ 2.4 ล้านยูนิต IM ห่างกันครั้งละ 1 สัปดาห
Benzathine penicillin G 2.4 ล้านยูนิต IM ครั้งเดียว
กรณีแพ้ยา penicillin ให้รักษาด้วย penicillin หลัง desensitizationหรือให้ Ceftriaxone หรือให้ Erythromycin sterate
การทดสอบแอนติบอดีที่ไม่จำเพาะ (non-treponemal test) ได้แก่
Venereal disease research laboratory (VDRL) และ Rapid plasma reagin (RPR) บอกค่าเป็น titer โดยทั่วไปในระยะทุติยภูมิค่า
มักจะมากกว่า 1:32
การทดสอบแอนติบอดีที่จำเพาะ (treponemal test) ได้แก่ fluorescent treponemalantibody absorption tests (FTA-ABS) หรือ Treponema pallidum passive particle agglutination (TPPA/TPHA) test
อาการแสดง
ซิฟลิสปฐมภูมิ (primary syphilis)
ซิฟลิสทุติยภูมิ (secondary syphilis)
ซิฟลิสระยะแฝง (latent syphilis)
ซิฟลิสระยะตติยภูมิ (tertiary or late syphilis)
ในระยะนี้จะตรวจพบรอยโรคที่ผิวหนัง เยื่อบุ กระดูก ข้อต่อ
เอ็น กล้ามเนื้อ ตับ ม้าม
รอยโรคที่ผิวหนังและเยื่อบุ เรียกว่า Gumma
จะไม่มีอาการแสดง แต่สามารถตรวจพบได้จากการตรวจเลือด
1.ระยะแฝงช่วงต้น (Early latent syphilis) ไมBมีอาการ และมีประวัติได้รับเชื้อมาน้อยกว่า 1 ปี
2.ระยะแฝงช่วงปลาย (Late latent syphilis/latent syphilis of unknown duration) ไม่มีอาการและมีประวัติได้รับเชื้อมากกว่า 1 ปี หรือไม่ทราบเวลาที่แน่นอนในการติดเชื้อ ในระยะแฝงช่วงปลายจะไม่ถ่ายทอดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ *แต่ในสตรีตั้งครรภ์สามารถถ่ายทอดเชื้อไปยังทารกได้
เกิดตามหลังระยะปฐมภูมิประมาณ 4-10 สัปดาห์ (หลังจากเกิดแผลริมแข็ง)
มีผื่นขึ้นบนผิวหนังตามร่างกายแบบ diffuse macular rash และฝ่า
มือและฝ่าเท้าแบบ target-like lesions
แผลสีเทาช่องปาก เรียกว่า mucous patch
ผื่นนูนขนาดใหญ่ สีเทา หรือขาว บริเวณที่มีความชื้นและอุ่น เรียกว่า condyloma lata
มีระยะฟfกตัวจนเกิด
แผล 3 – 90 วัน
บริเวณที่เชื้อเข้าสู่ร่างกาย
ลักษณะเป็นแผลริมแข็งสีแดง
มักพบต่อมน้ำเหลืองโตที่ขาหนีบทั้ง 2
ข้าง
เริม (Herpes)
เชื้อไวรัส Herpes simplex
แฝงตัวอยู่ที่ nerve ganglion
ชนิดที่ 1 มักทำให้เกิดการติดเชื้อบริเวณปาก
หรือลำตัวเหนือสะดือ
ชนิดที่ 2 มักทำให้เกิดการติดเชื้อบริเวณ อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
การดำเนินโรคแบ่งออกเป็น 3 ระยะ
การติดเชื้อปฐมภูมิ(first episode primary infection)
first episode non-primary infection
การติดเชื้อซ้ำ (Reactivation หรือ Recurrence)
การป้องกันที่ดีที่สุดในการแพร่เชื้อสู่ทารกคือ หลีกเลี่ยงไม่ให้ทารกสัมผัสกับรอยโรคในขณะคลอดบุตร
ผลต่อทารก
การรักษา
Acyclovir
Valacyclovir
Famciclovir
• การติดเชื้อโดยกำเนิด (congenital) หรือ ติดเชื้อในครรภ
microcephaly, microopthalmia, retinal dysplasia, cerebral
calcification
• การติดเชื้อปริกำเนิด (perinatal) ทารกมีอัตราตายถึงร้อยละ 60
และรายที่รอดชีวิตมีการทำลายของระบบประสาท และตาไดUรุนแรง
การติดเชื้อ HPV (Human Papillomavirus )
เป็นเชื้อไวรัสในกลุ่ม DNA สายคู่ที่ไม่มีเปลือกชั้นนอกหุ้ม ในจีนัส Papillomavirus และวงศ์ Papillomaviridae
แพร่กระจายได้ง่ายผ่านการสัมผัสกับเชื้อโดยตรงหรือการมีเพศสัมพันธ์ บางสายพันธุ์อาจเป็นสาเหตุของการเกิดมะเร็งชนิด
แบ่งตามความสามารถในการก่อมะเร็งออกเป็น
HPV สายพันธุ์ก่อมะเร็ง (Oncogenic หรือ high risk HPV types) ที่สำคัญ คือ HPV 16 และ 18
HPV สายพันธุ์ไม่ก่อมะเร็ง (Non-oncogenic หรือ low risk HPV types)ได้แกB สายพันธุ์ 6, 11, 42, 43, 44 โดย HPV 6 และ 11 เกิดหูดหงอนไก่
การแพร่เชื้อ (Transmission)
ผ่านทางรอยถลอก
ขนาดเล็ก (micro-abrasion)
ที่บริเวณอวัยวะเพศและทวารหนักจึงมักเกิดผ่านการมีเพศ
สัมพันธุ์
การป้องกันโรคติดเชื้อเอชพีวี
แนะนำให้ผู้หญิงที่มีอายุ 9-26 ปี ฉีดวัคซีน HPV
ผูู้ที่ติดเชื้อจะไม่แสดงอาการว่ามีการติดเชื้้อ การติดเชื้อ HPV ส่วนใหญ่หายได้เองไม่ต้องรักษา
เซลล์เยื่อบุปากมดลูกผิดปกติ (Abnormal cervical cells) ตรวจพบได้จากการตรวจ Pap smear -- Cryotherapy
หูดหงอนไก่ (Condyloma accuminata)
เกิดจากเชื้อ HPV (Human papillomavirus)
HPV สายพันธุ์ 6 และ 11
ใช้ลักษณะอาการทางคลินิก หรือการตัดชิ้นเนื้อไปดูผลทางพยาธิวิทยาหากลักษณะรอยโรคดูไม่ชัดเจน
ผลต่อการตั้งครรภ
ระหว่างการคลอดทางช่องคลอด อาจมีการติดเชื้อไปยังทารก ทำให้เกิด recurrent respiratorypapillomatosis (RRP) ในทารกได้
หากขณะคลอดมีน้ำเดินเปBนเวลานานจะเพิ่มความเสี่ยงที่จะทำให้้ทารกติดเชื้อเพิ่มขึ้น 2 เท่า การผ่าตัดคลอดบุตรทางหน้าท้องยังไม่ได้มีประโยชน์ชัดเจนในการลดความเสี่ยง
การรักษา (Treatment)
หากยังไม่หายภายใน 1 ปี จึงเริ่มการรักษา
หลักการรักษาเมื่อพบหูดจะเอาหูดออก หากไม่รักษา ก่อนอาจจะมีขนาดเท่าเดิมหรือหายไปเอง หรืออาจจะมีขนาดใหญ่ขึ้นการเอาก่อนหูดออกไม่ได้กำจัดการติดเชื้อ HPV ออกจากร่างกาย การเอาหูดออกจะลดการติดต่อลง
การจี้ด้วยความเย็น Cryotherapy
การใช้ยาทาภายนอก
การให้ผู้ป่วยทายาเอง
HIV/AIDS
เป็นสาเหตุของการเกิดโรคภาวะ
ภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือโรคเอดส
ทารกสามารถได้รับเชื้อจากมารดาได้ 3 ทางดังนี้
ทางรก (transplacental transmisssion)
ขณะคลอด (intrapartum) โดยการสัมผัสเลือดและสารคัดหลั่งระหว่างคลอด
ทางน้ำนม (breastfeeding)
ปัจจัยที่มีผลต่อการติดเชื้อของทารกในครรภ์
ระยะคลอด (intrapartum factors)
ระยะหลังคลอด(postpartum factors)
การให้นมบุตร (breast feeding) ถือเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดในระยะหลังคลอด
มารดาที่ติดเชื้อเอชไอวี หลังคลอดควรงดการให้นมบุตร ในประเทศไทยสามารถรับนมผสมได้ฟรีจนทารกอายุ 18 เดือน แนะนำให้เลี้ยงทารกด้วยนมมารดาอย่างเดียว(exclusive breast feeding) ร่วมกับมารดารับประทานยาต้านไวรัส
อายุครรภ์ที่คลอด เด็กทารกที่คลอดก่อนกำหนด
ภาวะถุงน้ำคร่ำแตก (rupture of membrane) หากถุงน้ำคร่ำแตกนาน > 4 ชั่วโมง จะเพิ่มโอกาสการติดเชื้อเกือบ 2 เท่า
ภาวะ chorioamnionitis
การทำหัตถการขณะคลอด เช่น การใส่ fetal scalp electrode, การคลอดด้วยเครื่องดูดสุญญากาศ หรือ คีมช่วยคลอด, การตัดแผลฝีเย็บโดยเพิ่มโอกาสที่ทารกจะสัมผัสกับเลือดและสารคัดหลั่งของมารดา
ข้อพิจารณาในระยะคลอด
หลีกเลี่ยงการใช้เครื่องมือ หรือทำหัตถการ
หลีกเลี่ยงภาวะน้ำเดินเกิน 4 ชั่วโมง ได้แก่ หลีกเลี่ยงการเจาะถุงน้ำคร่ำในระยะต้นของการคลอด
หัดเยอรมัน (Rubella)
เกิดจากเชื้อไวรัส Rubella
ระยะฟักตัว
ประมาณ 14-21 วัน เฉลี่ย 16-18 วัน
การติดต่อ
ระยะติดต่อกันได้มากคือ 7 วัน ก่อนมีผื่นขึ้นไปจนถึง 7 วันหลังผื่นขึ้น
ในทางปฏิบัตินิยมใช้การตรวจระดับของ Immunoglobulin >> Ig M Specific Antibody
การสัมผัสโดยตรง เชื้อที่อยู่ในน้ำมูกหรือน้ำลาย ในลำคอส่วน nasopharynx ของผู้ป่วยผ่านออกมาทางการไอจาม เข้าสู่ทางระบบการหายใจ
อาการและอาการแสดง
ไข้ต่ำๆ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดศีรษะตาแดง คออักเสบ จากนั้นจะมีสภาพผื่นแดงเล็กๆ และมีต่อมน้ำเหลืองโต โดยเฉพาะตรงบริเวณหลังหูและลำคอ
สำหรับทารกที่ติดเชื้อตั้งแต9ในครรภoและคลอดออกมามีความพิการ (Congenital rubella) เชื้อไวรัสจะอยู่
ในลำคอและขับถ่ายออกมาทางปัสสาวะได้นานถึง 1 ปี
ความผิดปกติที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อหัดเยอรมันในครรภ์
กลุ่มที่ปรากฏความผิดปกติขึ้นชั่วคราว จะสามารถพบได้นานถึง 6 เดือนหลังจากคลอด ได่แก่ ตับ ม้ามโต ตัวเหลือง ภาวะซีดจากเม็ดเลือดแดงถูกทำลายเกร็ดเลือดต่ำ ปอดอักเสบ
กลุ่มความผิดปกติถาวร ได้แก่ ความบกพร่องในการได้ยิน ความผิดปกติของหัวใจโดยกำเนิดความผิดปกติทางตา ความผิดปกติทางสมอง ภาวะปัญญาอ่อน
กลุ่มที่ปรากฏความผิดปกติภายหลัง คือไม่มีอาการแสดงขณะแรกคลอด พบได้ประมาณ 1 ใน 3ของทารกที่มีการติดเชื้อ แต่จะมีอาการแสดงออกภายหลังใน 10-30 ปี
การรักษา
เป็นการรักษาตามอาการ
ในหญิงตั้งครรภ์ที่สัมผัสโรคหัดเยอรมัน ควรได้รับการตรวจเลือดทันที
ถ้าตรวจพบแอนติบอดีชนิด IgG, IgM ที่จำเพาะแสดงว่ามีภูมิคุ้มกันต่อหัดเยอรมัน
กรณีตรวจไม่พบ แนะนำให้ตรวจเลือดซ้ำอีกครั้ง 2-3 สัปดาห์ ต่อมา ถ้าผลตรวจเป็นลบ ควรตรวจซ้ำอีกครั้ง 6 สัปดาห์ หลังสัมผัสโรค
ผู้ติดเชื้อทั่วไป แยกจนครบ 7 วัน หลังผื่นขึ้น
ในทารกที่ติดเชื้อตั้งแต่ในครรภ์และคลอดออกมามีความพิการ (Congenital rubella) อาจมีเชื้ออยูjไดhนานถึง 1 ปu จึงตhองแยกจากเด็กอื่นๆ
การป้องกัน
การฉีดวัคซีน
ป้องกันการติดเชื้อและการแพร9กระจายของเชื้อ หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้ป่วยถ้ามีอาการไอให้ใช้หน้ากากอนามัย หรือใช้มือปิดปากและจมูกพร้อมกับล้างมือบ9อยๆ