Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ลำไส้กลืนกัน (Intussusception), นางสาวนริศรา พุทธโค รหัส 621001042 -…
ลำไส้กลืนกัน (Intussusception)
ความหมาย
พบบ่อยที่สุดของการอุดตันของลำไส้ในเด็กอายุระหว่าง 3 เดือนถึง 2 ปี ซึ่งเป็นภาวะที่ลำไส้ส่วนหนึ่งเคลื่อนตัวเข้าไปในลำไส้ส่วนที่อยู่ปลายกว่า และมักเกิดขึ้นในเด็กที่สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงดี และเป็นภาวะที่ฉุกเฉินที่ต้องได้รับการรักษาที่ที่รวดเร็วและถูกต้อง เนื่องจากเป็นโรคที่อันตรายถึงแก่ชีวิตได้ หากลำไส้กลืนกันอยู่เป็นเวลานานๆก็จะเกิดลำไส้ขาดเลือด จนกระทั่งมีการเน่าตาย ลำไส้แตกทะลุได้
การรักษา
ต้องมีการแก้ไขภาวะขาดน้ำของเด็กเสียก่อน เพื่อป้องกันภาวะซ้อคขณะที่ให้รักษษอย่างอื่นๆ เด็กไม่มีภาวะซีด Hb สูงกว่า 8 mg%
แบบผ่าตัด
ถ้าพบพยาธิสภาพที่จุดนำก็ให้รักษา
เปิดหน้าท้อง ใช้มือบีบรูดลำไส้ที่กลืนกันจากด้านปลาย ในกรณีดันไม่ออกให้ตัดส่วนที่กลืนกันออก แล้วเชื่อมส่วนปลายทั้งสองข้างเข้าหากัน
แบบไม่ผ่าตัด
ทำ pneumatic reduction .=h8;k,fyovkdkLmkid 88 mmHg เด็กเล็ก 110 mmHg
ภาวะเเทรกซ้อน
ใส่ NG tube
การกลับมาเป็นซ้ำ 8-12 %
มีไข้สูง
ทำ hydrostatic reduction ใช้ในการสวนแบเรียมเข้าไปทางทวารหนัก หรือใช้สารอื่นเเทน หม้อสูงจากตัวเด็กไม่เกิน 2.5-3.5 ฟุต เพื่อป้องกันการทะลุของลำไส้
การพยาบาล
วัดและบันทึกสัญญาณชีพ สีผิว อาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจนทุก 15 นาทีในชั่วโมงแรก ทุก 30 นาที ในชั่วโมงต่อมา และทุก 1 ชั่วโมงจนกระทั่งอาการไม่เปลี่ยนแปลง ดูแลให้On O2hood 5 l/min keep O2 sat ≥95%
Record urine ทุก 2 ชม.2 ครั้ง keep ≥8 ml/2 ชม.Then ทุก 4 ชม. Record NG contentทุก 4 ชม.
กรณีรักษาแบบผ่าตัด
ระวังแผลไม่ให้เปียกน้ำระหว่างเช็ดตัว ไม่ให้ปนเปื้อนอุจจาระปัสสาวะ
ทำแผลด้วยความระมัดระวัง ถูกเทคนิค
สังเกตอาการแสดงของภาวะช็อค
ตรวจสอบแผลผ่าตัด ว่ามีเลือดออกผิดปกติหรือไม
ประเมิน pain scoreโดยใช้ NIPS (Neonatal Infant Pain Score) ถ้ามีpain score ≥4 ให้fentanyl 4 Mcgm vein ทุก 4 ชม. โดยต้องมีการประเมินSedation scoreก่อนและหลังให้ยาทุกครั้ง ถ้า sedation score <2 สามารถให้ ยาได้ตามแผนการรักษา
การวินิจฉัย
คลำทางหน้าท้อง พบได้ก้อนลักษณะคล้ายไส้กรอก
การตรวจแบเรียมทางทวารหนักและถ่ายภาพรังสี จะพบแบเรียมจะหยุดตรงจุดนำ
การซักประวัติ ประกิบด้วย สุขภาพดีมาตลอด และมีอาการและอาการแสดงดังกล่าว
อัลตร้าซาวด์ ทำได้ง่าย รวดเร็ว แม่นยำ เป็นก้อนเนื้อเยื่อนุ่ม
อาการและอาการแสดง
ร้องไห้งอแง กระสับกระส่าย อาการอาจปวดเป็นพักๆ จากนั้นจะแสดงอาการอื่นๆร่วมด้วย เช่น อาเจียน ท้องบวม อุจจาระปนเลือด มีไข้ และเด็กบางคนอาจจะมีอาการซึมหรือชักร่วมด้วย รวมถึงหมดสติได้
ปวดท้อง จะเกิดขึ้นทันที ปวดมากจนมีอาการเกร็ง
สาเหตุ
ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่นอนและเกิดขึ้นแบบฉับพลัน ในบางกรณีอาจเกิดจากการติดเชื้อในทางเดินอาหารส่งผลให้เกิดการบวมของต่อมน้ำเหลือง ทำให้เนื้อเยื่อส่วนหนึ่งของสำไส้ถูกดึงเข้าไปในอีกส่วนหนึ่ง หรือในกรณีที่เกิดขึ้นกับเด็กอายุมากกว่า 2 ปี มักมีสาเหตุมาจาก โรคเนื้องอกในลำไส้ ต่อมน้ำเหลืองโตหรือปัญหาหลอดเลือดในลำไส้
การติดเชื้อไวรัส ที่พบมากได้เเก่ Adenovirus ทำให้ลำไส้อักเสบและนำไปสู่ลำไส้กลืนกัน
ภายหลังการผัดตัดช่องท้อง เมื่อพ้นระยะท้องอืด อาจเกิดภาวะลำไส้กลืนกันได้
มีพยาธิสภาพที่จุดเริ่มต้น เช่น มีถุง Meckel เนื้องอกที่ลำไส้เล็ก เป็นต้น
นางสาวนริศรา พุทธโค รหัส 621001042