Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
งานนำเสนอกลุ่มที่ 5 - Coggle Diagram
งานนำเสนอกลุ่มที่ 5
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
พ.ร.บ. ระเบียบข้อบังคับ
1.พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
หมวดที่ 1 ทั่วไป
หมวดที่ 2 สิทธิและหน้าที่การศึกษา
หมวดที่ 3 ระบบการศึกษา
หมวดที่ 4 แนวจัดการศึกษา
หมวดที่ 5 การบริหารและจัดการศึกษา
หมวดที่ 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
หมวดที่ 7 ครู อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
หมวดที่ 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
หมวดที่ 9 เทคโนโลยีทางการศึกษา
2.พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546
มาตรา ๓๒ เด็กที่พึงได้รับการสงเคราะห์
มาตรา ๓๒ เด็กที่พึงได้รับการสงเคราะห์
3.พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. 2551
ประเภทความพิการ
ประเภทความพิการ
ประเภทความพิการ
บกพร่องทางสติปัญญา
บกพร่องทางการเคลื่อนไหว
บกพร่องทางการเรียนรู้
บกพร่องทางการพูด
บกพร่องทางพฤติกรรม
บกพร่องทางพฤติกรรม
พิการซ้อน
4.พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับพ.ศ.2545
กำหนดให้บิดา มารดาหรือผู้ปกครองที่มีหน้าที่จัดให้บุตรหรือบุคคลอื่นซึ่งอยู่ในการดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 9 ปี
ให้คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแล้วแต่กรณีเกี่ยวกับการส่งเด็กเข้าเรียนในสถานศึกษา
บุคคลซึ่งมิใช่ผู้ปกครองแต่มีเด็กซึ่งไม่ได้เข้าเรียนในสถานศึกษาอาศัยอยู่ด้วย มีหน้าที่ต้องแจ้งสำนักงานเขต ภายใน 1 เดือนนับตั้งแต่มีเด็กมาอาศัยอยู่
5.พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551
1) การศึกษานอกระบบ
ความเสมอภาคในการเข้าถึงและได้รับการศึกษาอย่างกว้างขวาง
การกระจายอำนาจแก่สถานศึกษา
2) การศึกษาตามอัธยาศัย
การเข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความสนใจ
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ให้มีความหลากหลาย
การจัดกรอบหรือแนวทางการเรียนรู้ที่เป็นคุณประโยชน์
หลักการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชุน
ความหมาย
เป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อกันระหว่าง โรงเรียนกับชุมชนเพื่อให้โรงเรียนรู้จักชุมชนดีขึ้นในแง่ ที่สามารถค้นหาและใช้แหล่งทรัพยากรในชุมชนให้เกิด ประโยชน์ต่อการศึกษา
ความสําคัญ
1
โรงเรียนเป็นแหล่งคัดเลือกคนให้ชุมชน
2
โรงเรียนเป็นแหล่งพัฒนาคนให้ชุมชน
3
โรงเรียนเป็นแหล่งรวมวิชาต่างๆ
4
โรงเรียนเป็นแหล่งถ่ายทอดวัฒนธรรม
5
โรงเรียนเป็นศูนย์อบรมของชุมชน
6
โรงเรียนและชุมชนมีจุดมุ่งหมายเดียวกันคือพัฒนาคนให้เป็นคนดีสามารถดํารงชีวิตอยู่ ในสังคมอย่างมีความสุข
จุดมุ่งหมาย
1.เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
2.เพื่อเสริมสร้างความรู้สึกความเป็นเจ้าของให้แก่ชุมชน
3.เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของโรงเรียน
4.เพื่อฟื้นฟูและรักษาวัฒนธรรมของชุมชน
5.เพื่อเสริมสร้างความกลมกลืนระหว่างบ้านกับโรงเรียน
แนวทางบริหารงาน
1.การศึกษา การศึกษาวิเคราะห์และวิจัยชุมชน
4.เครือข่ายการเรียนรู้
3.การให้และการรับบริการชุมชน
2.การฝึกอบรมและการพัฒนา
ผู้บริหารกับความสัมพันธ์ชุมชน
บทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
ให้มีแผนพัฒนาสถานศึกษา
เป็นผู้นำในการจัดการทำหลักสูตร
จัดให้มีการประชาสัมพันธ์หลักสูตร
สนับสนุนการจัดสภาพแวดล้อม
สนับสนุนให้บุคลากรทุกฝ่ายของสถานศึกษาได้รับความรู้ และความสามารถจัดทำ
หลักสูตรของสถานศึกษา
จัดให้มีการนิเทศภายในเพื่อนิเทศ กำกับ ติดตามการใช้หลักสูตรอย่างมีระบบ
มาตรฐานวิชาชีพ ผู้บริหารการศึกษา/ผู้บริหารสถานศึกษา/ศึกษานิเทศก์
มาตรฐานวิชาชีพ 3 ด้าน
มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
ผู้บริหารสถานศึกษา
ความรู้ 7 ด้าน
สอนไม่น้อยกว่า 5 ปี หรือ
หัวหน้าหมวด หัวหน้าสาย หน้ากลุ่ม หัวหน้างานหรือตำแหน่งบริหารอื่นๆ ไม่น้อยกว่า 2 ปี
ผู้บริหารการศึกษา
ความรู้ 6 ด้าน
สอนไม่น้อยกว่า 8 ปี หรือ
ผู้บริหารสถานศึกษาไม่น้อยกว่า 3 ปี หรือ
บุคลากรทางการศึกษาอื่น(กฎกระทรวง)ไม่น้อยกว่า 3 ปี หรือ
หัวหน้ากลุ่มไม่น้อยกว่า 5 ปี หรือ
สอน + ผู้บริหารสถานศึกษา + บุคลากรทางการศึกษาอื่น + มีประสบการณ์การบริหารไม่ต่ำกว่าหัวหน้ากลุ่ม รวมกันไม่น้อยกว่า 8 ปี
ศึกษานิเทศก์
ความรู้ 8 ด้าน
สอนไม่น้อยกว่า 5 ปี หรือ
สอน + ผู้บริหารสถานศึกษา + ผู้บริหารการศึกษา รวมกันไม่น้อยกว่า 5 ปี
และเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
มาตรฐานการปฏิบัติงาน
ผู้บริหารสถานศึกษา/ผู้บริหารการศึกษา/
ศึกษานิเทศก์
12 ข้อ
มาตรฐานการปฏิบัติตน
จรรณยาบรรณต่อ
1.ตนเอง
2.วิชาชีพ
3.ผู้รับบริการ
4.ผู้ร่วมประกอบ
5.สังคม
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
แนวทางการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสู่มาตรฐาน วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา
ของสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 1
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษา รูปแบบการ พัฒนาผู้บริหาร สถานศึกษา ขั้นพื้นฐานสู่ มาตรฐานวิชาชีพ
เพื่อศึกษาเหตุ
ปัจจัยสําคัญที่ส่งผลต่อคุณภาพการพัฒนา
ผู้บริหารสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานสู่ มาตรฐานวิชาชีพ
เพื่อศึกษาภาพอนาคตที่พึงประสงค์ คุณภาพ และความต้องการ พัฒนาผู้บริหาร
4.แนวทางการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาสู่ มาตรฐานวิชาชีพ
ประโยชน์ที่ได้รับ
ได้รู้รูปแบบและวิธีการพัฒนา ผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสู่มาตรฐาน วิชาชีพ
ผลการวิจัยครั้งนี้นําไปใช้ในการวางแผน (Planning) การพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา