Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปรัชญาลัทธิอัตตภาวะนิยม, นางสาวพิมผกา เวชประโคน, สาขานวัตกรรมการบริหารการ…
ปรัชญาลัทธิอัตตภาวะนิยม
ตัวอย่างโรงเรียน
Summerhill School
ถือเป็นโรงเรียนตามสบาย
มีแนวคิดที่ว่าสร้างโรงเรียนให้เหมาะสมกับเด็ก ไม่ใช่สร้างเด็กให้เหมาะสมกับโรงเรียน
ให้อิสระแก่นักเรียน
มีทางเลือกการเรียนรู้ที่หลากหลาย
รับนักเรียนอายุตั้งแต่ 5 - 15 ปี
มีการจัดตั้งสภาในโรงเรียน
สภาครู
สภานักเรียน
Alexander Sutherland Neill เป็นผู้ก่อตั้ง
หลักสูตรมีความยืดหยุ่น
เป็นการเรียนรู้หลักสูตรเพื่อเตรียมเข้ามหาลัย
คำนึงถึงความปลอดภัยด้านสุขภาพ
โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก
ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2523
มีชั้น ป.1 - ป.6
รับนักเรียนได้สูงสุด 250 คน
มีแนวคิดที่ว่าสร้างโรงเรียนให้เหมาะสมกับเด็ก ไม่ใช่สร้างเด็กให้เหมาะสมกับโรงเรียน
เรียนตามสบาย
ให้เด็กแสดงความเป็นตัวของตัวเอง
เน้นการสร้างเสรีภาพและการปกครองตนเอง
เน้นการเรียนรู้และประสบการณ์
แบ่งการศึกษาเป็น 2 แบบ
ใช้หลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ
ป.1 - ป.6
เน้นการค้นหาตนเอง
การศึกษาทางเลือก
เน้นการค้นหาตนเอง
ปรัชญาการศึกษาอัตตภาวะนิยม
ครูหรือผู้สอน
กระตุ้นผู้เรียน
คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
ให้นักเรียนได้ใช้ความถนัดและความสามารถของตนเอง
ให้เสรีภาพกับนักเรียน
นักเรียนหรือผู้เรียน
มีสิทธิเลือกแนวทางการพัฒนาตนเอง
ผู้เรียนเป็นผู้ที่สำคัญที่สุด
หลักสูตร
เน้นวิชาเกี่ยวกับมนุษยศาสตร์
วรรณคดี
ประวัติสาสตร์
ศิลปะ
การละคร
เชื่อว่าวิชาต่าง ๆ ช่วยฝึกเด็ก และสำคัญทุกวิชา
อารมณ์
ศีลธรรม จริยธรรม
สุนทรียศาสตร์
เน้นการเข้าใจตนเอง
กระบวนการสอน
เน้นให้ผู้เรียนเป็นตัวของตัวเอง
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกเรียนด้วยตนเอง
จุดมุ่งหมาย
มีเสรีภาพในการเลือก
เน้นการมีวินัยในตนเอง
พัฒนาความเป็นมนุษย์
โรงเรียน
จัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจ
สร้างบรรยากาศแห่งเสรีภาพ
ในห้องเรียน
นอกห้องเรียน
ไม่กำหนดแนวทางด้านจริยธรรมที่ตายตัว
ปรัชญาลัทธิอัตตภาวะนิยม
ความเป็นมา
ก่อกำเนิดที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
การศึกษาเป็นส่วนหนึ่งที่ทำลายความเป็นมนุษย์ด้วยการสร้างกรอบที่จำกัดเสรีภาพทางสังคม
เกิดขึ้นเนื่องจากมีความรู้สึกสูญเสียตนเองไปจากระบบสังคม
ความสำคัญ
ถือว่าการค้นคว้าหาสารัตถะ ทำให้ผู้คิดออกจากความเป็นจริง
เป็นลัทธิปรัชญาที่มีอิทธิพลกว้างขวางไปทั่วโลก
ความหมาย
อัต= ความเป็นอยู่ + ภาวะ=สภาพความมีอยู่
ก่อกำเนิดที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
อัตตภาวะนิยม เป็นภาษามคธ
Existence แปลงรูปมาจากภาษาลาติน Existentia แปลว่า
ความมีอยู่
หลักการและแนวคิด
ตระหนักปัญหาด้วยตนเอง
ยึดคำตอบด้วยการตัดสินใจด้วยตนเอง
ไม่มีระบบปรัชญาที่ตายตัวแน่นอน
แก้ปัญหาบนพื้นฐานความเป็นจริง
องค์ประกอบลัทธิอัตตภาวะนิยม
ญาณวิทยา
ความรู้
ความรู้แต่ละบุคคลแตกต่างกันตามตัวตน
ตัวตนมองว่าสิ่งใดคือความรู้สิ่งนั้นก็จะเป็นความรู้
การแสวงหาความรู้ขึ้นอยู่กับบุคคล
เป็นพื้นฐานการดำรงชีวิต
คุณวิทยา
คุณค่า
จริยศาสตร์
มีเสรีภาพ
เลือกค่านิยมเอง
คุณค่าด้านต่าง ๆ อยู่ที่ความพึงพอใจ
สุนทรียศาสตร์
เลือกหรือตัดสินความงามนั้นเองตามความเข้าใจ
ให้คุณค่าโดยไม่ยึดตามคนอื่นแม่จะถูกมองว่าใช่หรือไม่ใช่ก็ตาม
อภิปรัชญา
ความจริง
ถ้าตัวตนมองว่าเป็นความจริงสิ่งนั้นก็คือความจริง
ตัวตนกำหนดเองว่าความจริงจะเป็นอย่างไร
ความจริงขึ้นอยู่กับตัวบุคคล
นักปรัชญาลัทธิอัตตภาวะนิยม
กาเบรียล มาร์เชล
ใช้ความเป็นรูปธรรมเป็นพื้นฐานเบื้องต้น
ปอล ทิลลิช
แนวคิด
ความโดดเดี่ยวคือความเจ็บปวด
ความสันโดษคือชัยชนะของการอยู่ลำพัง
นักสัตวศาสตร์ที่มีอิทธิพลสูงสุดในศตวรรษที่ 20
คาร์ล แจสเปอร์
เป็นจิตแพทย์ เอกการแพทย์
ยึดตนเองเป็นสำคัญ
มาร์ติน บูเบอร์
นักเขียนบทความ I and Thou
ความสัมพันธ์เป็นสิ่งที่บุคคลมีต่อคนอื่น
มาร์ติน ไฮเดกเกอร์
เน้นการตระหนักรู้ถึงการมีอยู่
เน้นการสังเกตตนเอง
คีเคกอร์ด
อัตตภาวะเป็นพื้นฐานของเทววิทยา
ยึดการปฏิบัติของตนเอง
ปฏิบัติตนแล้วสะท้อนความสสอดคล้องกับกฎของศาสนา
อัตตภาวะเป็นพื้นฐานจริยธรรม
อัตตภาวะเป็นพื้นฐานความรู้
อัตตภาวะเป็นจุดหมายของการสร้างโลก
ฌอง ปอล ซาร์ตร์
เป็นนักเขียน บทความ การดำรงอยู่ของมนุษย์
มนุษย์ทุกคนมีความอิสระ
แนวคิดทางการศึกษาตามลัทธิอัตตภาวะนิยม
แนวคิดเกี่ยวกับหลักสูตร
มีความยืดหยุ่น ไม่ตายตัว
วิชาต่าง ๆ
สนองความต้องการและความสนใจ
มีความหลากหลาย
เน้นการฝึกฝนด้านศิลปะตามแนวคิดตนเองอย่างเสรี
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ผู้เรียนค้นคว้าตามความสนใจ
เลือกศึกษาเรียนในเนื้อหาที่ตนสนใจ
ครูเป็นเพียงผู้กระตุ้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้
แนวคิดเกี่ยวกับโรงเรียน
เป็นแหล่งพัฒนาเสรีภาพ
เป็นสถานที่ช่วยสอนให้รู้จักตนเอง
เป็นสถานที่พัฒนาความรู้
แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาคุณธรรม
โรงเรียนกระตุ้นให้ผู้เรียนสำนึกได้ด้วยตนเอง
ตระหนักในเสรีภาพ
เลือกแนวทางด้านจริยธรรมด้วยตนเอง
รับผิดชอบสิ่งที่เลือกเอง
นางสาวพิมผกา เวชประโคน
สาขานวัตกรรมการบริหารการศึกษา