Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การออกแบบ การพัฒนา การประเมินนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนแ…
การออกแบบ การพัฒนา การประเมินนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนและผู้เรียน
หลักการออกแบบ(ADDIE Model)
ขั้นตอน 5 ขั้น
ขั้นการพัฒนา(Development)
ขั้นการนำไปใช้หรือดำเนินการ(Implementation)
ขั้นการออกแบบ(Design)
ขั้นการประเมินผล(Evaluation)
ขั้นวิเคราะห์(Analysis)
ADDIE Model กับการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู็
การแปลความ : ผู้เรียนสามารถแปลความได้ชัดเจนและตรงประเด็น
เขียนสะท้อนเรื่องราว แนวคิดหรือทฤษฏี
เพื่อประเมินเกี่ยวกับเนื้อหา
ผู้เรียนสามารถเสนอมุมมองใหม่ที่ทันสมัยและน่าเชื่อถือ
วิเคราะห์ วิจารณ์
เปรียบเทียบข้อดี ข้อเสีย และแนวทางในการคิด
เข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น : ผู้เรียนมีความพร้อมในการรับฟังและการตอบ
ประเมินความสามารถ
การเข้าใจผู้อื่น
เข้าใจตนเอง พร้อมรับการเรียนรู็ใหม่
ประเมิน เปรียบเทียบผลงานตนเอง
ประเมินความรู้ ความเข้าใจ
ผู้เรียนสามารถอธิบายด้วยหลักการที่เป็นเหตุ และผลอย่างเป็นระบบ
การให้ผู้เรียนสามารถสรุปประเด็นการเรียนรู้และการสังเกตลักษณะ
การเรียงความ หรือย่อความ
การประยุกต์ใช้
ครูผู็สอนและการออกแบบการเรียนรู้
WHERE
W
คือเป้าหมายการเรียนรู็ และทิศทางการเรียนรู้
E
คือการคัดเลือกเนื้อหาที่ผ่านการวิเคราะห์ประเด็น แนวคิด ทฤษฏี และการนำไปใช้
H
คือการออกแบบการเรียนรู้ให้น่าสนใจเพื่อสร้างแรงจูงใจ
R คือการวิเคราะห์กระบวนการเรียนรู้ และการสังเคราะห์นำสรุปจากเนื้อหา
E
คือการประเมินผลที่มีเป้าหมายอย่างชัดเจน เน้นความเป็นจริง
การออกแบบ TPACK Model
CK (Content knowledge) คือ ความรู้ด้านเนื้อหาวิชา
สาระ ข้อมูล แนวคิด องค์ประกอบสำคัญหรือหลักการที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชาการ
ความรู้ ความเข้าใจในธรรมชาติของความรู้ และการสืบเสาะเพื่อได้มาซึ่งความรู้นั้นๆ
ความรู้ความเข้าใจด้านองค์ความรู้ที่มีความถูกต้องและทันสมัย
PCK(Pedagogical Content knowlede) คือ ความรู้ในเนื้อหาผนวกวิชาการสอน
สามารถปรับใช้เทคนิคที่เหมาะสม
มีแนวทางการสอนที่เหมาะสมกับเนื้อหา เฉพาะเจาะจงในวิชาใดวิชาหนึ่ง
PK(Pedagogical knowledge) คือ ความรู้ด้านกระบวนทัศน์การสอน
กลยุทธ์ หรือกระบวนการการปฏิบัติ หรือวิธีการสอนทั้งในและนอกสิ่งที่เรียน
การฝึกฝนตามแนวทางการเรียนการสอน
TCK(technological Content knowlede) คือ ความรู้ในเนื้อหาผนวกวิธีการสอน
ความรู้ ความเข้าใจ การใช้เทคโนโลยีที่หลากหลาย และน่าสนใจ
TK (Technological knowledge)คือความรู้ด้านเทคโนโลยี
ความรู้ ทักษะ และความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
ความสามารถในการเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่สามารถบูรณาการเข้าไปยังการเรียนการสอนได้
ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะ การใช้ การจัดการ และกสรบริหารเทคโนโลยีต่างๆ
TPK(Technological Pedagogical knowlede) คือ ความรู้ในวิธีการสอนและผนวกเทคโนโลยี
ความรู้ ความเข้าใจว่าการสอนและการเรียนรู้สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงได้
TPACK(Technological Pedagogical Knowlede) คือ ความรู้ด้านกระบวนทัศน์ผนวกเนื้อหาวิชา และเทคโนโลยี
การบูรณาการ ความรู้ความสามารถ ทักษะการผสมผสารในการใช้สื่อ
หลักการออกแบบ ASSURE Model
การวิเคราะห์ลักษณะผู้เรียน
เพื่อทราบความพร้อมด้านการเรียนมากน้อยเพียงใด
ทักษะที่มีมาก่อน
ทักษะในการเรียน
ทักษะเป้าหมาย
ทัศณคติ
การกำหนดวัตถุประสงค์ (State Objectives)
เพื่อทราบวัตถุประสงค์ในการเรียน
ผู้เรียนสามารถทราบได้ว่าต้องเรียนอะไร
ช่วยในการประเมินผู้เรียนได้อย่างถูกต้อง
การเลือก ดัดแปลง หรือการออกแบบสื่อใหม่(Select Instructional )
เลือกจากสิ่งที่มีอยู่แล้ว
การออกแบบสื่อใหม่
ดัดแปลงจากสื่อที่มีอยู่แล้ว
การใช้สื่อ Utilize media,materials
การเตรียมตัวเกี่ยวกับเนื้อหา
การเตรียมผู้เรียน
การเตรียมสภาพแวดล้อม
การนำเสนอ
การกำหนดการตอบสนองต่อผู้เรียน(Require learnner participation)
ผู้สอนต้องจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมและกระตุ้นให้นักเรียนมีส่วนร่วม
การประเมินผลหรือการประเมินการใช้สื่อ(Evaluate and revise)
การประเมินความสำเร็จของผู้เรียน
การประเมินผลของสื่อและวิธีการสอน
การประเมินผลกระบวนการสอน