Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาชีวอนามัย - Coggle Diagram
อาชีวอนามัย
บทบาทและหน้าที่ของพยาบาลในงานอาชีวอนามัย
ดูแลรับผิดชอบการให้บริการดานอาชีวอนามัยแก่บุคลากรมีหน้าที่ในการ
วางแผนงานและบริหารจัดการ Occupational Health Nursing Program ให้ครอบคลุมและเหมาะสมกับบุคลากรทุกกลุ่มงาน
2.มีส่วนร่วมในการวางแผนงานที่เกี่ยวข้องกับการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยทั้งในระยะสั้นและ
ระยะยาวโดยมีความสอดคลองและสนับสนุนเป้าหมายการดำเนินงานของสถาบนฯ
3.ส่วนร่วมในการจัดทำแผนนโยบายเกี่ยวกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัย, แผนการปฏิบัติงาน,
เอกสารแสดงข้้นตอนการปฏิบัติงานและเอกสารแนะนําให้ความรู้ เผยแพร่และแจกจ่ายให้แก่บุคลากรยึดถือเป็นแนวปฏิบัติ
4.การจัดกิจกรรมส่งเสริมและให้ความรู้ด้านอาชีวอนามยและความปลอดภัยที่เหมาะสมให้แก่บุคลากรที่ปฏิบัติงานอยู่
และบุคลากรบรรจุใหม่
กาหนดกรอบแผนงานและขั้นตอนในการดูแลและรักษาสุขภาพ,การคัดกรองทางการแพทย์ การให้คำปรึกษาและประเมินประวัติสุขภาพและประวัติการทำงานของบุคลากรว่ามีความเสี่ยงต่อสุขภาพอันเกิดจากการทำงานมากน้อยเพียงใด
สามารถวางแผนและบริหารจดการการจัดกัิจกรรมหรือการฝึกอบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพในทุกกลุ่มบุคลากร
7.ให้คำปรึกษาด้านสุขภาพกับพนักงาน ลูกจ้าง และบุคลากรในสถาบันฯ พร้อมทั้งสามารถช่วยเหลือหรือแก้ปัญหาสุขภาพใหกับบุคลากรเป็นรายบุคคลและสามารถวางแผนป้องกนความเสี่ยงต่ออันตรายทางสุขภาพในสถานที่ปฏิบัติงาน
สามารถวางแผนบริหารจัดการโปรแกรมการดูแล
บุคลากรที่ตั้งครรภ์
9.ประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพเป็นรายบุคคลเกี่ยวกับโรคเรื้ือรังหรือเบาหวานที่อาจจะมีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานของบุคลากร
10.จัดกิจกรรมปรับปรุงสมรรถนะทางกายให้กับบุคลากร และให้ความคิดเห็นเกี่ยวกบการปรับเปลี่ยนหน้าที่และการเกษียณอายุงานเนื่องจากความบกพร่องของร่างกาย
ประสานงานกับบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงานอนามัยในการตรวจสอบพื้ืนที่ปฏิบตัิงานเพื่อจัดจำแนกและแบ่งระดับบริเวณการปฏิบตัิงานที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอันตรายหรือระดับความเสี่ยงอันตรายในการ
ปฏิบตัิงานของลูกจ้างรวมทั้งสามารถหาวิธีการป้องกันหรือลดความเสี่ยงต่ออันตรายที่จะเกิดข้ึน
จัดเตรียม, บันทึก และเก็บรักษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับโปรแกรมอาชีวอนามัย เช่น ประวัติสุขภาพของบุคลากร, เอกสารอ้างอิง, บันทึกการติดต่อประสานงาน
จัดโปรแกรมการตรวจเยี่ยมบริเวณปฏิบัติงานเป็นระยะเพื่อตรวจสอบติดตามผลและชี้ให้เห็นถึงอันตรายต่างๆ ในการปฏิบัติงานและรณรงค์ให้บุคลากรใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายพร้อมท้งแนะนำวิธีการป้องกันและแก้ปัญหาที่เกิดจากการใช้อุปกรณ์
สามารถจำแนกความเจ็บป่วยหรืออุบัติเหตุที่เกิดจากการทำงานออกจากความเจ็บป่วยที่เกิดจากสาเหตุอื่นๆและร่วมมือกับ
แพทย์อาชีวอนามัย, บุคลากรด้านความปลอดภัย , หัวหน้างานในการติดตามอาการเจ็บป่วย
วางแผนและประสานงานในการจัดโครงการให้ภูมิคุ้มกันต่อโรคที่เหมาะสมแก่บุคลากรโดยจำแนกประเภทตามความเสี่ยงจากการปฏิบัติงานรายบุคคล
รับผิดชอบหน้าที่อื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
โรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ
โรคที่เกิดจากสารเคมี
โรคที่เกิดจากแบลิเลี่ยม: ทำให้เกิดการระครายเคืองของตา และทางเดินหายใจ มีอาการอ่อนเพลีย น้ำหนักตัวลด ต่อมน้ำเหลืองโต
แคดเมี่ยม: มีอาการปวดกระดูกมาก อ่อนเพลีย น้ำหนักลด ไอเรื้อรังฯ
ฟอสฟอรัส: อาการเฉียบพลัน ตับ ไตเกิดการระคายเคืองรุนแรง เยื่อบุทางเดินอาหาร เยื่อบุลำไส้ถูกทำลาย ดีซ่าน และอาเจียน
อาการเรื้อรัง ปวดกระดูก กระดูกขากรรไกรถูกทำลาย
โครเมี่ยม: ช่วยการทำงานของยารักษาโรคเบาหวาน ทำให้เกิดระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ และรบกวนการดูดซึมสังกะสี (Zinc)
แมงกานิส: อาการระยะที่1 ไข้ ปวดศีรษะ กล้ามเนื้อไม่มีแรง พูดช้าและไม่ชัดเจน ระยะที่2 ตะคริวบ่อยขึ้น ปวดกล้ามเนื้อบ่อยขึ้น ซึม พูดเป็นเสียงเดียว ระยะที่3 มีอาการกระตุกมากขึ้น ก้าวขาสั้น หกล้มบ่อย
สารหนู: อาการเฉียบพลัน ท้องเสีย อาเจียน มึนตา ตาพร่ามัว อาการเรื้อรัง เกิดมะเร็งและเสียชีวิต
ปรอท: อาการเฉียบพลัน ไปและปวดศีรษะอย่างรุนแรง ไข้ หายใจอึดอัด ปากเปื่อย และเป็นแผลอักเสบ
อาการเรื้อรัง มีน้ำลายไหลมากผิดปกติ ปวดบริเวณเหงือกและปาก กล้ามเนื้อกระตุก อารมร์เปลี่ยนแปลงง่าย
ตะกั่ว: จับกับเม็ดเลือดแดงแทนที่เหล็ก (FE+2) ทำให้เกิดโลหิตจาง
โรคที่เกิดจากสารกำจัดศัตรูพืช
Organochlorine: อาการเฉียบพลัน คลื่นไส้ อาเจียน ป้องเสีย ปวดท้อง มึนงง มีอาการหัวใจหยุดเต้น ตับอักเสบ
อาการเรื้อรัง มีอาการชัก สมองอักเสบ มรอาการแปลบๆที่แขน-ขา
โรคที่เกิดจากสาเหตุทางกายภาพ
โรคหูตึงจากเสียง
การสูญเสียการได้ยินแบบชั่วคราวได้ับเสียงดังมากๆเป็นระยะเวลาไม่นาน ทำให้หูอื้อ
การสูญเสียการได้ยินแบบถาวร ได้รับเสียงดังเป็นระยะเวลาาน เซลล์ขนในหูชั้นในถูกทำลาย เกิดหูตึง หูพิการ
อุปกรณ์ป้องกัน: Ear plugs ลดเสียงที่มีความถี่ 25-30 เดซิเบล ป้องกันระดับเสียงที่มีความดังไม่เกิน 115-120 เดซิเบล
Ear muffลดเสียงที่มีความถี่ 30-40 เดซิเบลป้องกันระดับเสียงที่มีความดังไม่เกิน 130-135 เดซิเบล
โรคที่เกิดจากการสั่นสะเทือน
ระบบหลอดเลือด: เรียกว่า Raynaud's phenomenon ทำให้หลอดเลือดตีบ และนิ้วมือซีดขาว
เส้นประสาท: มีอาการเสียวแปลบๆ ชา เสียการประสานงานระหว่างนิ้ว
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ: กล้ามเนื้อมีการอ่อนแรง ปวดในมือและแขน
โรคจากความดันอากาศ
Type I decompression sickness:มักมีอาการปวดที่แขน ขา และเส้นเอ็นบริเวณข้อ
Type II decompression sickness: เกิดอันตรายของไขสันหลังและสมอง พบความผิดปกติของช่องหูส่วนใน ปอด และเกิดภาวะช็อก (decompression sickness shoke)
อาชีพเสี่ยง: นักประดาน้ำ ชาวประมงที่มีการดำน้ำ คนทำงานก่อสร้างใต้น้ำ บุคคลที่ทำงานในอุโมงค์
โรคที่เกิดจากสาเหตุทางชีวภาพ
Leptospirosis: มีอาการไข้ หนาวสั่น ปวดกล้ามเนื้อ ปวดท้อง ศีรษะ พบม้ามโต ดีซ่านรุนแรง ไตวาย มีจุดเลือดออกตามตัว ซึมและไม่รู้สึกตัว พบในอาชีพเกษตรกรรม โรงงานฆ่าสัตว์ แปรรูปอาหารฯ
โรคที่เกิดจากการทำงาน
โรคฝุ่นหินจับปอด(Silicosis): มีอาการหายใจลำบากลึกๆตื้นๆ ปลายนิ้วเขียวคล้ำ ไอ้แห้งๆ มีโอกาสติดเชื้อวัณโรค
พบมากในคนทำงานโรงงานผลิตเซรามิก โรงโม่หินฯ
โรคหืดจากการทำงาน: มีอาการเหนื่อยหอบ ไอมาก พบในอาชีพโรงงานผลิตฝ้าย
โรคปอดแร่ใยหิน(Asbestosis): มีอาการหายใจหอบถี่ เจ็บหน้าอก น้ำหนักลด ไอแห้งๆ พบมากในอาชีพที่ทำงานในอุตสาหกรรมผลิตฉนวนกันความร้อน ฝ้าเพดานฯ
โรคปอดฝุ่นฝ้าย(Byssinosis): มีอาการหายใจไม่อิ่ม หอบ เหนื่อย พบมากในผู้ที่ทำงานในโรงงานผลิตผ้าฝ้าย ปอ ป่าน
โรคที่เกิดจากรังสี
ผดร้อน(Miliaria)
Miliaria Crystallina: เกิดอาการขึ้นที่ชั้นผิวด้านบนสุด มีลักษณะเป็นตุ่มน้ำใส ๆ
Miliaria Rubra: กิดอาการขึ้นที่ผิวหนังชั้นนอกส่วนที่ที่ลึกลงไป มีลักษณะเป็นตุ่มแดงเล็กๆ ทำให้เกิดอาการคันหรือชายิบ ๆ
Miliaria Profunda: กิดอาการขึ้นที่ผิวหนังชั้นใน หรือชั้นหนังแท้ มีลักษณะเป็นตุ่มสีแดงระเรื่อ ทำให้รู้สึกไม่สบายตัว คันยิบ ๆ หรือเจ็บปวดคล้ายถูกเข็มตำ
Miliaria Pustulosa: การอักเสบหรือการติดเชื้อแบคทีเรียบริเวณที่เป็นผด ผดที่เกิดเป็นตุ่มที่มีหนองอยู่ภายใน
Systemic Hypothermia: การรับรู้สติลดลง พูดลิ้นรัว กระวนกระวาย อ่อนแรงทั้งตัว
Localized Hypothermia
Chilblains (Pernio): ผิวหนังแดง คัน จากการอักเสบจากความเย็น
Immersion Foot : ได้แก่ระยะขาดเลือด(Ischemic stage), ระยะที่เลือดกลับมาเลี้ยง(Hyperemic stage) และ ระยะฟื้นตัว (Posthyperemic recovery stage) มีอาการชา บวม และมีสีขาวซีดหรือเขียวคล้ำ
Frostbite : มีการแข็งของผิวหนังส่วนที่ปกคลุมได้แก่ผิวหนังและเนื้อเยื่อชั้นใต้ผิวหนัง ทำให้เกิดอาการชา เจ็บแปลบ หรือคัน ผิวหนังจะเป็นสีเทาขาว และแข็ง
โรคที่เกิดจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า: มีอาการปวดศีรษะ คลื่นไส้สับสน อ่อนเพลีย ความจำลดลง ซึมเศร้า นอนไม่หลับ และชักกระตุก
ความหมายและความสำคัญของงานอาชีวอนามัย
ความหมาย: การส่งเสริมสุขภาพการทำงานให้คงไว้ซึ่งสุขภาพกาย ใจ และความเป็นอยู่ที่ดีในสังคม และเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดการ เบี่ยงเบนด้านสุขภาพที่มีสาเหตุจากการทำงานของคนทำงานในทุกอาชีพ โดยการดูแลสภาพแวดล้อม เครื่องมือ กระบวนการให้เหมาะสมกับสภาพกาย และจิตใจของคนทำงาน โดยการปรับงานแต่ละงานให้เข้ากับคนแต่ละคน
ความสำคัญ: พื่อการดำเนินการให้ผู้ประกอบอาชีพ หรือแรงงานเกิดความปลอดภัยสูงสุด ได้รับการคุ้มครองและสิทธิประโยชน์ตามกฎหมาย
แขนงวิชาที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย
อาชีวสุขศาสตร์ (Occupational hygiene) การค้นหาปัญหา ประเมิน ตรวจสอบควบคุมหรือแก้ไขปัญหาเพื่อไม่ให้เกิดอันตรายหรือโรคจากการประกอบอาชีพ
อาชีวเวชศาสตร์ (Occupational medicine) การเฝ้าระวังทางการแพทย์ การวินิจฉัย การรักษาโรคและความพิการจากการประกอบอาชีพ และการฟื้นฟูความพิการ
อาชีวนิรภัย (Occupational safety) การมุ้งเน้นในการป้องกันอุบัติเหตุ และการส่งเสริมให้เกิดความปลอดภัย
เออร์กอนอมิกส์ (Ergonomics) การจัดงานที่เหมาะสมกับสภาพร่างกายและจิตใจของคนงาน
องค์ประกอบของงานอาชีวอนามัย
1.การบริการที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม การให้การดูแลทางด้านความปลอดภัย ด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม และด้านเออร์กอนอมิกส์
2.การบริการที่เกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของคนงาน การดูแลให้คนงานได้มีการตรวจสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูความพิการ
แนวคิดพยาบาลกับงานอาชีวอนามัย
การบริการสุขภาพเพื่อดูแลสุขภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชีพ ครอบคลุมการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพ
การจัดการบริการทางด้านสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ครอบคลุมการดูแลสุขศาสตร์ การดูแลด้านความปลอดภัย และการดูแลด้านการยศาสตร์
การบริการสุขภาพผู้ประกอบอาชีพ เน้นกลุ่มอุตสาหกรรม ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 [ผู้ประกอบอาชีพ+ความตระหนักในความปลอดภัย=อุบัติเหตุจากการทำงาน]
ปัจจุบันอาชีพเกษตรกรมากขึ้น เน้นการดูแลสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้ประกอบอาชีพทุกอาชีพ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย
พรบ.แรงงาน พ.ศ.2541
ประกาศกระทรวงมหาดไทย พ.ศ.25151
การคุ้มครองแรงงาน
งานทั่วไปไม่เกิน 8 ชม./วัน หรือตามที่นายจ้างลูกจ้างตกลงกัน และไม่เกิน 48 ชม./สัปดาห์
งานที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัยของลูกจ้าง ได้แก่ งานที่ต้องทำใต้ดิน ใต้น้ำ ในถ้ำ ในอุโมงค์ หรือในที่อับอากาศ งานเกี่ยวกับกัมมันตภาพรังสี งานเชื่อมโลหะ งานขนส่งวัตถุอันตราย งานผลิตสารเคมีอันตราย งานที่ต้องทำด้วยเครื่องมือ หรือเครื่องจักร ซึ่งผู้ทำได้รับความสั่นสะเทือนอันอาจเป็นอันตราย และงานที่ต้องทำเกี่ยวกับความร้อนจัดหรือความเย็นจัดอันอาจเป็นอันตราย ให้มีเวลาทำงานปกติไม่เกิน 7 ชม./วัน และไม่เกิน 42 ชม./สัปดาห์
เวลาพักระหว่างการทำงานปกติไม่ น้อยกว่า 1 ชม./วัน หลังจากลูกจ้างทำงานมาแล้วไม่เกิน 5 ชม.
วันหยุดประจำสัปดาห์ ไม่ น้อยกว่า 1 วัน/สัปดาห์ โดยให้มีระยะห่างกันไม่เกิน 6 วัน
การทำงานล่วงเวลา การทำงานในวันหยุดต้องได้รับความยินยอมจากลูกจ้างก่อน รวมแล้วต้องไม่เกิน 36 ชม./สัปดาห์
ลูกจ้าง ลาป่วยได้เท่าที่ป่วยจริง การลาป่วยตั้งแต่ 3 วันทำงานขึ้นไปนายจ้างอาจให้ลูกจ้างแสดงใบรับรองของแพทย์แผนปัจจุบันชั้น หนึ่งหรือของสถานพยาบาลของทางราชการ
ค่าตอบแทนในการทำงานไม่น้อยกว่าอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ
ความปลอดภัยเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
ให้การศึกษาและการฝึกอบรมให้ทราบถึงอันตรายและการป้องกัน
ลดชั่วโมงการทำงานที่เกี่ยวกับสารเคมีที่เป็นอันตรายให้น้อยลง
หมุนเวียนหรือการสับเปลี่ยนหน้าที่การปฏิบัติงาน
ผู้ปฏิบัติงานทำงานอยู่ในห้องที่ควบคุมเป็นพิเศษ
ตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
มีอุปกรณ์ เครื่องป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
กำหนดสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยสำหรับลูกจ้าง
1.ให้นายจ้างจัดให้มีน้ำสะอาดสำหรับดื่ม ห้องน้ำ และห้องส้วมอันถูกต้องตามสุขลักษณะและมีปริมาณเพียงพอแก่ลูกจ้าง
2.นายจ้างต้องจัดให้มีบริการเพื่อช่วยเหลือลูกจ้างเมื่อประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยในการปฐมพยาบาลหรือในการรักษาพยาบาล
พรบ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541
ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน