Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ลำไส้กลืนกัน (Intussusception), นางสาวอาซีญา หมัดอะดั้ม รหัส 621001112 …
ลำไส้กลืนกัน (Intussusception)
ความหมาย
เป็นภาวะฉุกเฉินทางช่องท้องที่พบบ่อยในทารกและเด็ก มักพบในทารกอายุ 2 ปีแรก เป็นภาวะที่ลำไส้ส่วนต้น หรือเคลื่อนตัวเองเข้าไป หรือถูกกลืนโดยลำไส้ในส่วนที่อยู่ปลายกว่า
อาการและอาการแสดง
อาเจียน อาเจียนติดต่อกันหลายครั้ง อาหารเก่า ระยะหลังสีน้ำดีปน คล้ายอุจจาระ
คลำได้ก้อนในท้อง ชายโครงด้านขวา ก้อนเป็นลำยาว คล้ายไส้กรอก
ปวดท้อง จะเกิดขึ้นทันที ปวดมากจนมีอาการเกร็ง ซีด เหงื่อออก จากการปวดแบบโคลิก (Colicky Pain)
ถ่ายเป็นมูกปนเลือด
สาเหตุ
ภายหลังผ่าตัดช่องท้อง เมื่อพ้นระยะท้องอืด อาจเกิดภาวะลำไส้กลืนกันได้
1.การติดเชื้อไวรัส ที่พบมากได้แก่ Adenovirus ทำให้ลำไส้อักเสบและนำไปสู่ลำไส้กลืนกัน
ภาวะที่ลำไส้ถูกกระตุ้นจากการเปลี่ยนแปลงอาหารเข้มข้น ย่อยยาก เช่น การเริ่มอาหารเสริมแก่ทารก ทำให้เกิดการเคลื่นไหวบีบรัดตัวขงลำไส้มากขึ้น
มีพยาธิสภาพที่จุดเริ่มต้น เช่น มีถุง Meckel เนื้องอก ที่ลำไส้เล็ก เป็นต้น
การวินิจฉัย
คลำทางหน้าท้อง พบคลำได้ก้อน ลักษณะคล้ายไส้กรอก
การตรวจแบเรียนทางทวารหนักและถ่ายภาพรังสี จะพบแบเรียมจะหยุดตรงจุดนำ
1.การซักประวัติ ประกอบด้วย สุขภาพดีมาตลอด และมีอาการและอาการแสดงดังกล่าว
การอัลตร้าซาวด์ ทำได้ง่าย รวดเร็ว แม่นยำ เป็นด้อนเนื้อเยื่อนุ่ม
การพยาบาล
4.ประเมินภาวะวิตกกังวลหรือกลัว
5.เตรียมผู้ป่วยที่ต้องได้รับการทำหัตถการให้พร้อมทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
3.ประเมินภาวะขาดน้ำและความไม่สมดุลของ electrolyte
6.ดูแลให้ผู้ป่วยที่มีการเน่าตายและติดเชื้อที่ลำไส้ ได้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
2.ลดอาการแน่นอึดอัดท้องโดยการดูแลให้มีการดูดของเหลวออกจากลำไส้ ทาง nasogastric intestinal suction ตลอดเวลา ประเมินลักษณะและจำนวนของสิ่งที่ดูดออกมา
7.ดูแลไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ ในผู้ป่วยที่ขาดสารอาหาร
1.ช่วยบรรเทาอาการปวดแน่นท้อง โดยให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนคลายทั้งร่างกายและจิตใจ ร่วมกับยาแก้ปวดตามแผรการรักษา
การรักษา
1.รักษาแบบไม่ผ่าตัด
โดยทำ pneumatic reduction ใช้ความดันของอากาศ ทารก 88 mmHg เด็กเล็ก 110mmHg
โดยทำ hydrostatic reduction ใช้การส่วนแบบเรียมเข้าไปทางทวารหนัก หรือใช้สารอื่นแทน หม้อสูงจากตัวเด็กไม่เกิน 2.5-3.5 ฟุต เพื่อป้องกันการทะลุของลำไส้
2.รักษาแบบผ่าตัด
ในกรณีดันไม่ออกให้ตัดส่วนที่กลืนกันออก แล้วเชื่อมส่วนปลายทั้งสองข้างเข้าหากัน
ถ้าพบพยสธิสภาพที่จุดนำก็ให้รักษา
เปิดหน้าท้อง ใช้มือบีบรูดลำไส้ที่กลืนกันจากด้านปลาย
ต้องมีการแก้ไขภาวะขาดน้ำของเด็กเสียก่อน เพื่อป้องกันภาวะช๊อคขณะที่ให้การรักษาอย่าง อื่นๆ เด็กไม่มีภาวะซีด Hb สูงกว่า 8mg%
นางสาวอาซีญา หมัดอะดั้ม รหัส 621001112