Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
PATHOPHYSIOLOGY OF RENAL SYSTEM - Coggle Diagram
PATHOPHYSIOLOGY OF RENAL
SYSTEM
Pathology
นิ่วในในระบบทางเดินปัสสาวะ (stone)
นิ่ว สามารถเกิดในระบบทางเดินปัสสาวะ ได้หลายรูปร่างและ
ตำแหน่ง เช่น นิ่วรูปร่างเขากวาง (staghorn) มีทั้งประเภททึบ
แสงและ ไม่ทึบแสง ซึ่งไม่สามารถเห็นได้ด้วยX-ray
เกิดจากการตกผลึกของสารก่อนิ่วในปัสสาวะ ทำให้เยื่อบุไตอักเสบ รวมกับสารก่อนิ่วเป็นผลึกนิ่ว
แบ่งตามตำแหน่งการเกิดเป็น
นิ่วในทางเดินปัสสาวะ ส่วนบน; renal calyces, renal pelvis, ureter
นิ่วในทางเดินระบบปัสสาวะ ส่วนล่าง; bladder, urthra
แบ่งตามส่วนประกอบ
นิ่ว calcium oxalate ซึ่งพบได้ ร้อยละ80
นิ่วกรดยูริค
อาการแสดง
(clinical manifestation)
ปวดตื้ อบั้นเอว
ปัสสาวะสะดุด
ปัสสาวะเป็นทราบ/กรวด/เม็ดหิน
ตรวจร่างกาย (physical examination)
Palpate mass at male urthra
การส่งตรวจทางห้องปฎิบัติการ
Urine analysis : ส่องกล้องพบผลึกในรูบแบบต่างๆ
Film KUB : พบabnormal opacityในurinary tract
ข้อแนะนำสำหรับการป้องกันการเกิดนิ่วในไต
ดื่มน้ำให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย หลีกเลี่ยงภาวะขาดน้ำ
ไม่กลั้นปัสสาวะ เนื่องจากจะทำให้มีโอกาสตกตะกอนเกิดเป็นผลึกได้
ลดการรับประทานอาหารบางประเภท ที่มีสารหรือเกลือแร่มากเกินไป เช่น เครื่องในสัตว์ ชา น้ำอัดลม ผักบางชนิด (คะน้า ผักบุ้ง)
การติดเชื้้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
(Urinary tract infection)
อาการแสดง (clinical manifestation)
ปัสสาวะแสบขัด (dysuria)
เบ่งปัสสาวะ
กลั้นปัสสาวะไม่ได้ (urgency)
ปัสสาวะขุ่น/มีฟอง/ปนเลือด
ปวดท้องน้อย
ปวดบั้นเอว (flank pain)
มีไข้
ตรวจร่างกาย (physical examination)
Tender at suprapubic are
CVA Tenderness positive
การส่งตรวจทางห้องปฎิบัติการ
Urine analysis
พบleukoce+ve, nitrite+ve, WBC>5cell/mm3
Urine culture
Film KUB
พบabnormal opacityในurinary tract
การรักษา (Treatment)
Medical treatment
Antibiotic ให้ยาที่ครอบคลุมเชื้อgram negative เช่น กลุ่มfluoroquinolone(ofloxacin,ciprofloxacin),กลุ่ม3rd generationcephalosporin (Ceftriaxone)
Supportive เช่น ยาแก้ปวด
Nonmedical treatment
ดื่มน้ำให้เพียงพอ
รักษาความสะอาด ไม่สวมเสื้อผ้ารัดแน่น/อับชื้น
ไม่กลั้นปัสสาวะ
เช็ดท าความสะอาดบริเวณช่องคลอดจากหน้าไปหลัง
ล้างอวัยวะเพศและปัสสาวะก่อนมีเพศสัมพันธ์
พบเป็นอันดับสองของการติดเชื้อ รองจากURI
พบในผญ > ผช เนื่องจากท่อปัสสาวะสั้นกว่า
เชื้้อก่อโรคที่มักเป็นสาเหตุ คือ Escherichia coli (E.coli) อาศัยในลำไส้ใหญ่
พบการติดเชื้อได้หลายตำแหน่ง
บริเวณท่อปัสสาวะ = urethritis
บริเวณกระเพาะปัสสาวะ = cystitis
บริเวณกรวยไต = pyelonephrtis
สาเหตุ ACUTE KIDNEY INJURY
2.renal cause
3.Post renal cause
1.prerenal cause
Physiology
หน้าที่ของไต
(Kidney function)
กรองของเสียออกจากร่างกาย
กำจัดน้ำส่วนเกินออกจากร่างกาย
เป็นต่อมไร้ท่อ (Hormonal regulation)
ควบคุมความดันโลหิต ผ่านระบบ Renin angiotensin
กระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง ผลิด erythropoietin
ควบคุมปริมาณแคบเซียม ผ่านhormone
Glomerular Filtration &
Tubular Resorption
อัตราการกรอง Glomerular Glomerular filtration rate filtration rate (GFR)
(tubular Reabsorption) คือ การดูดสารต่างๆ ที่กรองออกมาในหลอดไตกลับเข้าร่างกายซึ่งไตทำหน้าที่นี้ เป็นส่วนใหญ่
Anatomy
ANATOMY OF KIDNEY
ชั้นของไต
ผนังหุ้มไต (Renal capsule)
ไตชั้นนอก (Cortex)
ไตชั้นใน (Medulla)
Calyx/calyces
กรวยไต (Renal pelvis)
ไตมี 2 ข้าง ซ้ายและขวา
อยู่บริเวณตำแหน่ง T12-L3, ขนาด 6
11
3cm
เป็นRetroperitoneal organ
หน่วยไต (NEPHRON)
เป็น anatomical unit of kidney functionประกอบด้วย
Vascular supply
Renal tubule
₋ Proximal tubule
₋ loop’s of Henle
₋ Distal tubule
₋ Collecting duct
Glomerulus
₋ Renal corpuscle
₋ Bowman capsule
₋ Afferent & efferent arteriole
ANATOMY OF RENAL SYSTEM
ไต (Kidney)
ท่อไต (ureter)
กระเพราะปัสสาวะ (Bladder)
ท่อปัสสาวะ (urethra)
เส้นเลือดดำ เส้นเลือดแดงและระบบท่อน้ำเหลือง
(Renal a., vein, lymphatic drainage)
Anatomy of Ureter, Bladder and urethra
ท่อไต (Ureter)
•เป็น retroperitoneal structures ที่ต่อจาก renalenal
pelvis ถึงกระเพาะปัสสาวะ(bladder)
•มีความยาวประมาณ 25-30cm
•แบ่งเป็น 3 ส่วน
abdominal ureter จาก renal pelvisสู่ the
pelvic brim
pelvic ureter: จาก the pelvic brim สู่ the
bladder
intravesical or intramural ureter: ในthe
bladder wal
กระเพาะปัสสาวะ
(Urinary Bladder)
เป็นอวัยวะมีลักษณะเป็นถุง ประกอบด้วยชั้นกล้ามเนื้อ วางในช่องท้องส่วนล่าง
•มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมพีระมิด
•ขนาดความจุ 400-1000ml
•ประกอบด้วย Body , fundus, Trigone
ท่อปัสสาวะ (Urethra)
Male urethra ยาวประมาณ 20 cm แบ่งออกเป็น 3
ส่วนคือ
Prostatic urethra (3-4 cm) ส่วนที่ออกจากกระเพาะปัสสาวะ ผ่านเข้าไปอยู่ในเนื้อต่อมลูกหมาก(prostate gland)
Penile urethra (U) ยาวประมาณ 15 cm ล้อมรอบด้วยcorpus spongiosum ปลายสุดขยายกว้างเรียกfossa navicularis และเปิดออกที่ glan
Membranous urethra (1 cm) ส่วนนี้ออกจากเนื้อต่อมลูกหมาก ผ่านเข้า ไปใน urogenital และpelvicdiaphragm
ปัสสาวะคั่งค้าง
ภาวะแทรกซ้อน
กระเพาะปัสสาวะเสียหายหรือทํางานผิดปกต
ไตทํางานผิดปกติ
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได
สาเหตุ
ท่อปัสสาวะอุดตัน
ต่อมลูกหมากโต
อวัยวะภายในอุ้งเชิงกรานหยอน
ท่อปัสสาวะตีบแคบ
ท้องผูก
นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
ความผิดปกติของผนังช่องคลอดด้านหน้าหยอน หรือกระเพาะปัสสาวะยื่นย้อย
ไส้ตรงยื่นย้อย
รักษา
การระบายนํ้าปัสสาวะ (Bladder Drainage)
การใช้ยา
การผ่าตัด
ปัสสาวะคั่งค้าง เป็น ภาวะที่ไม่สามารถขับปัสสาวะได้ตามปกติแม้ว่ารู้สึกปวดปัสสาวะมากหรืออาจต้องใช้เวลาเบ่งปัสสาวะนานกว่าจะออก ในรายที่เป็นไม่รุนแรงยังถ่ายปัสสาวะได้ตามปกติ แต่มักถ่ายได้ไม่สุด ทําให้นํ้าปัสสาวะบางส่วนค้างอยู่ในกระเพาะปัสสาวะ
ปัสสาวะมาก
มีภาวะโรคเบาจืด
มีภาวะ Psychogenic polydipsia
อาการปัสสาวะมากเนื่องจากดื่มน้ำมากเกินไป มากเกินกว่าความต้องการของร่างกาย จึงต้องเกิดการขับออกตลอดเวลา ก็จะเป็นผลกระทบมาจากความผิดปกติต่างๆ ภายในร่างกาย และต่อไปนี้คือตัวอย่างที่พบได้บ่อยครั้ง
มีโรคเบาหวาน
โรคเกี่ยวกับไต
ประเภทของอาการปัสสาวะมาก
กลุ่ม Solute diuresis : เป็นภาวะปัสสาวะมากที่มีต้นตอมาจาก เกิดปริมาณสารบางอย่างที่ดึงน้ำออกจากร่างกาย แล้วกลายเป็นปัสสาวะ โดยที่จะเป็นสาร electrolyte หรือ nonelectrolyte ก็ได้
กลุ่ม Water diuresis : เป็นภาวะที่ปัสสาวะถูกขับออกมาเร็วกว่าปกติ ลักษณะจะเป็นของเหลวที่เจือจางมาก หากพูดให้เข้าใจง่ายก็คือ น้ำผ่านกระบวนการดูดซึมน้อยเกินไปนั่นเอง ซึ่งจะต้องวินิจฉัยด้วยค่า urine osmolality < 250 mosm/kg
ภาวะปัสสาวะมาก จึงจำเป็นต้องตรวจวัดด้วยการเก็บปัสสาวะตลอดทั้งวัน 24 ชั่วโมง เพื่อดูว่าแท้จริงแล้วปริมาณปัสสาวะ
ค่า ADH
ADH หรือ Antidiuretic hormone เป็นฮอร์โมนต้านการขับปัสสาวะ เราอาจเคยได้ยินชื่ออื่นๆ นอกจากนี้มาบ้าง เช่น เวโซเพรสซิน นี่เป็นฮอร์โมนที่สร้างโดยสมองส่วนไฮโพทาลามัส แล้วส่งต่อไปยังคลังเก็บที่สมองส่วนหลัง เพื่อรอการดึงออกมาใช้งาน หน้าที่หลักของ ADH ก็คือควบคุมการทำงานของไต กลไกการดูดซึมและกรองสารพิษต่างๆ จึงดำเนินไปได้อย่างสมบูรณ์ ไม่ส่งผลกระทบในทางไม่ดีต่อร่างกาย รักษาสมดุลน้ำในร่างกายให้เป็นปกติ เนื่องจากสสารในร่างกายทั้งหมดเป็นน้ำมากถึง 70 เปอร์เซ็นต์ หากเสียสมดุลไป ระบบก็จะรวนและเสียหาย นอกจากนี้ ADH ก็ยังดูแลเรื่องความเข้มข้นของของเหลวในร่างกายอีกด้วย ในผู้ป่วยที่มี อาการปัสสาวะมากส่วนใหญ่จึงมีปัญหาค่า ADH ลดน้อยลง อาจเป็นเพราะร่างกายไม่สามารถผลิตสาร ADH ได้ตามปกติ หรือมีพฤติกรรมบางอย่างที่ฝึกให้ร่างกายดึงเอา ADH มาใช้งานน้อยลง
ปัสสาวะน้อย
สาเหตุ
ร่างกายรับน้ำเข้าน้อยเกินไป
การรักษา
ขั้นต้นให้เริ่มจากการทานน้ำให้มากขึ้น โดยค่อยๆ เพิ่มทีละนิดๆ เพื่อช่วยปรับสมดุลร่างกายให้กลับมาเป็นปกติ แม้ว่าในบางรายจะไม่ได้ผลลัพธ์ที่ชัดเจน แต่การทานน้ำอย่างพอเหมาะก็จะช่วยให้ระบบร่างกายทำงานได้ดีขึ้น
ดูแลเรื่องสารอาหารให้สมดุล และลดในส่วนที่จะเพิ่มโซเดียมให้ร่างกาย เน้นผักผลไม้ให้มากขึ้นกว่าปกติ เพื่อการดีท็อกซ์หรือล้างพิษตามวิถีธรรมชาติ
AKI คืออะไร
ก่อนจะไปถึงตัวอย่างของสาเหตุที่พบได้บ่อย จำเป็นต้องรู้จักกับ AKI เสียก่อน เพื่อความเข้าใจที่มากขึ้น AKI หรือ Acute kidney injury เป็นภาวะไตวายเฉียบพลัน อวัยวะส่วนไตเกิดการเสียสมดุลไปจนถึงเสียประสิทธิภาพในการทำงานไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งปัจจัยที่ส่งผลให้การภาวะไตวายเฉียบพลัน ก็มีได้หลากหลาย แต่สุดท้ายมักจะให้ผลลัพธ์แบบเดียวกันทั้งสิ้น
Post-renal AKI
Sepsis-associated AKI
Intrinsic AKI
Postoperative AKI
Pre-renal AKI
Burn and acute pancreatitis
Nephrotoxic drug associated AKI
Endogenous toxin
Tumor lysis syndrome
ปัสสาวะน้อย เป็นภาวะที่ผู้ป่วยปัสสาวะได้ปริมาณน้อยกว่าผิดปกติ ชั่วโมงละ 20 มิลลิลิตร หรือวันละ 400 มิลลิลิตร
โรคกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
สาเหตุหลักที่สําคัญและเกี่ยวข้องโดยตรงในสตรีเพศเป็ นเพราะว่ากล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานหยอนลง บางทีเรียกกันว่า กระบังลม(เชิงกราน)หยอน
ประเภท
• ปัสสาวะกลั้นไม่อยูที่เป็นมาแต่กำเนิด (Congenital)
• ปัสสาวะรดที่นอน (Bed Wetting Enuresis)
• ปัสสาวะกลั้นไม่อยูจากระบบประสาท (Neurogenic)
• ปัสสาวะเล็ดเมื่อออกแรงเบ่ง (Stress Urinary Incontinence)
• ปัสสาวะราดกลั้นไม่ได้ (Urge Incontinence)
• ปัสสาวะเล็ดและราดร่วมกนั (Mixed Incontinence) หมายถึงอาการข้อ 4 และข้อ 5 เป็นร่วมกนั
• ปัสสาวะล้นซึม (Over Flow Incontinence)
• ปัสสาวะบ่อยมากในช่วงกลางวัน (Urinary Freguency Daytime)
• ปัสสาวะบ่อยในช่วงเวลากลางคืน (Nocturia Night Time)
• ปัสสาวะปวดกลั้น (Urgency)
• กระเพาะ, ปัสสาวะไวเกิน (Over Active Bladder) หมายถึงกลุ่มอาการในข้อ 5, 8, 9 และ10 รวม ๆ กนั )
การตรวจวินิจฉัยทางการแพทย
ตรวจปัสสาวะเพื่อตัดปัญหาการอักเสบ
ตรวจสอบความแรงของสายปัสสาวะ (Uroflowmetry, Residual Urine)
ตรวจระบบประสาททางเดินปัสสาวะ ถ้าจําเป็น (Urodynamic)
ตรวจส่องกล้องกระเพาะปัสสาวะ ถ้าจําเป็น
อื่น ๆ
การรักษา
การบริหารฝึกฝนกล้ามเนื้ออุ้มเชิงการ
การบริหารทานยา
การผ่าตัดรักษาผ่านบริเวณช่องคลอด
โปรตีนในปัสสาวะ
ภาวะโปรตีนในปัสสาวะหมายถึงการตรวจพบ proteine หรือ albumin ในปัสสาวะซึ่งมักจะมีสาเหตุจากโรค
ไต การรับประทานยาบางชนิด
ภาวะมีโปรตีนในปัสสาวะ
โรคความดันโลหิตสูง (Hypertensive nephrosclerosis)
โรคเบาหวานลงไต (Diabetes nephropathy)
ผู้้ที่มีโปรตีนในปัสสาวะจะมีอาการอะไรบ้าง
ผู้ที่มีโปรตีนในปัสสาวะจะไม่มีอาการอะไร หากมีปริมาณโปรตีนในปัสสาวะปริมาณมากเวลาปัสสาวะลงในโถส้วมจะเป็ นฟอง หากร่างกายสูญเสียโปรตีนไปมากจะทําให้เกิดอาการบวมบริเวนเท้า หนังตา