Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความเป็นราชภัฏเชียงใหม่ - Coggle Diagram
ความเป็นราชภัฏเชียงใหม่
ความเป็นมาของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ
มหาวิทยาลัยราชภัฏ เป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยที่พัฒนามาจากโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ที่ตั้งอยู่ในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคของประเทศ
ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น วิทยาลัยครู หลังจากนั้น ได้รับพระราชทานนาม "ราชภัฏ"
พระราชทาน พระราชลัญจกรเป็นตราประจามหาวิทยาลัย
ประวัติความเป็นมาของกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ
วันที่12 ตุลาคม พ.ศ. 2435 ได้มีการก่อตั้งโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ขึ้น บริเวณโรงเลี้ยงเด็ก ตาบลสวนมะลิ ถนนบารุงเมือง จังหวัดพระนคร (ปัจจุบัน คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร)
ปี พ.ศ. 2457 ก่อตั้งโรงเรียนตัวอย่างประจามณฑลนครราชสีมา ต่อมาก็ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมมณฑลนครราชสีมา” (ปัจจุบัน คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา)
พ.ศ. 2468 ธรรมการมณฑลได้จัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูประจามณฑลขึ้นโดยเฉพาะ เรียกว่า "โรงเรียนฝึกหัดครูมูลประจามณฑลนครศรีธรรมราช" (ปัจจุบัน คือมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา)
วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466ก่อตั้ง “โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมมณฑลอุดร” บริเวณสโมสรเสือป่ามณฑลอุดร อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี (ปัจจุบัน คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี)
พ.ศ. 2466 ได้มีการก่อตั้ง "โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมประจามณฑลพายัพ" ณบ้านเวียงบัว ตาบลช้างเผือก อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (ปัจจุบัน คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่)
การก่อตั้งสถาบันราชภัฏ และมหาวิทยาลัยราชภัฏ
วันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ “สถาบันราชภัฏ” ให้กับวิทยาลัยครูทั่วประเทศ
6 มีนาคม พ.ศ. 2538 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดกล้าฯ พระราชทานพระราชลัญจกรประจาพระองค์ให้เป็น “สัญลักษณ์ประจาสถาบันราชภัฏ”
วันราชภัฏ
ทุกวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ของทุกปี เป็น “วันราชภัฏ”
ประวัติความเป็นมาของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมประจามณฑลพายัพ จังหวัดเชียงใหม่
พ.ศ.2466 มหาเสวกโท พระยาสุรบดินทร์สุรินทรภาไชย (อุปราช) อามาตย์เอกพระยาพายัพพิริยะกิจ (สุมหเทศาภิบาล) และอามาตย์ตรีหลวงวิสณห์ดรุณการ (ศึกษาธิการ มณฑลพายัพ) ได้ร่วมกันเพื่อเตรียมการจัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมประจามณฑลพายัพขึ้น
ซื้อที่ดินบ้านเวียงบัว ตาบลช้างเผือก อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จานวน 1 แปลง มีเนื้อที่ประมาณ 15 ไร่ พร้อมด้วยเรือนไม้ 1 หลัง เป็นเงิน 318.75 บาท เพื่อเตรียมจัดตั้งโรงเรียน
นักเรียนรุ่นแรกตามหลักฐานแล้วมีอยู่ 28 คน คัดเลือกมาเรียนจากจังหวัดเชียงราย 6 คน จังหวัดลาพูน 5 คน จังหวัดแม่ฮ่องสอน 1 คนและจังหวัดเชียงใหม่ 16 คน
โรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตร มณฑลพายัพ
พ.ศ.2470 มณฑลพายัพจึงได้รวมเอาการฝึกหัดครู สามัญชั้นต่า ประจามณฑลแผนกชายซึ่งอยู่ที่โรงเรียนประจามณฑล (ปัจจุบัน คือ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย) มาไว้ที่โรงเรียนฝึกครูกสิกรรมประจามณฑลที่ตาบลช้างเผือก
เปลี่ยนชื่อใหม่เรียกว่า "โรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรมณฑลพายัพ" แต่ นักเรียนทั้งหมดก็ยังเป็นชายและสอนเน้นหนักด้านการเกษตรเหมือนเดิม
โรงเรียนฝึกหัดครูมูล จังหวัดเชียงใหม่
ปี 2485 กระทรวงศึกษาธิการได้ปรับปรุงโรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรมณฑลพายัพ โดยได้เน้นการผลิตครูในสายสามัญให้มากยิ่งขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนครูสายสามัญของมณฑล
โดยแยก การผลิตครูออกเป็นสามประเภท คือ ฝึกหัดครูมูลสามัญ ฝึกหัดครูประกาศนียบัตรจังหวัดและฝึกหัดครูมูลสามัญ ฝึกหัดครูประกาศนีบัตรจังหวัดและฝึกหัดครูประชาบาล
ปี 2490 ได้มีการสร้างอาคารหอนอน จุนักเรียนได้ 60 คน เรียกว่า “หอ90” ปัจจุบันคือโรงยิมเนเซียม
วิทยาลัยครูเชียงใหม่
ปีการศึกษา 2502 นายศิริ ศุขกิจ ได้ย้ายมาเป็นหัวหน้าสถานศึกษาแห่งนี้และเรียกตาแหน่งนี้ใหม่ว่า "อาจารย์ใหญ่" ทั้งนี้เพราะได้เตรียมการยกฐานะของโรงเรียนให้เปิดถึงขั้นประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา ชั้นสูง (ป.กศ. สูง)
วิทยาลัยครูเชียงใหม่ได้เริ่มงาน ตามโครงการฝึกหัดครูชนบท โดยได้ส่งนักศึกษาใน ระดับ ป.กศ. ออกฝึกสอนในโรงเรียนประถมศึกษา 5 โรงเรียน ในท้องที่อาเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่