Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาชีวอนามัย, นางสาวจินตนา พาปา กลุ่ม A3, รหัส 62102301019 เลขที่ 19 -…
อาชีวอนามัย
ความหมายและความสำคัญของอาชีวอนามัย
อาชีวอนามัย หมายถึง สุขภาพอนามัยในการประกอบอาชีพ โดยทั่วไปความหมายรวมไปถึงความปลอดภัยของผู้ประกอบอาชีพด้วย
แขนงวิชาที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย
อาชีวสุขศาสตร์ (Occupational hygiene) หรือสุขศาสตร์อุตสาหกรรม
อาชีวเวชศาสตร์ (Occupational medicine ) หรือเวชศาสตร์
อุตสาหกรรม
อาชีวนิรภัย (Occupational safety) หรือความปลอดภัยในการประกอบ
อาชีพ
เออร์กอนอมิกส์ (Ergonomics) เป็นแขนงวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการจัดงานที่เหมาะสมกับสภาพร่างกายและจิตใจของคนงา
กฎหมายที่เกี่ยวที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย
ประกาศกระทรวงมหาดไทย พ.ศ.2515
การคุ้มครองแรงงาน
ความปลอดภัยเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
ก าหนดสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยสำหรับลูกจ้าง
พรบ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๔
พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑
พรบ.แรงงาน พ.ศ. 2499
บทบาทและหน้าที่ของพยาบาลในงานอาชีวอนามัย
พยาบาลอาชีวอนามัย
Toxicology
Industrial Hygiene
Safety
Epidemiology
Ergonomics
Occupational Medicine
องค์ประกอบของงานอาชีวอนามัย
การบริการที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมการทำงาน
การบริการที่เกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของคนงาน
บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย
วิศวกรความปลอดภัย
แพทย์อาชีวเวชศาสตร์ หรือนักเวชศาสตร์อุตสาหกรรม
นักอาชีวอนามัย หรือนักสุขศาสตร์อุตสาหกรรม
พยาบาลอาชีวอนามัย
กายภาพบำบัด
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงแรงงานและสวัสดิการ
หน่วยงานต่างประเทศ
กระทรวง อุตสาหกรรม
โรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคจากการประกอบอาชีพ
สภาพการทำงาน (Working condition)
สภาพแวดล้อมการทำงาน
ปัจจัยด้านกายภาพ (Physical hazards)
ความกดดันบรรยากาศที่ผิดปกติ
(Extreme Pressure)
อุณหภูมิที่สูงหรือต่ำเกินไป
(Extreme temperature)
เสียง (Noise)
ความสั่นสะเทือน (Vibration)
รังสี (Radiation)
แสงสว่าง (Illumination/Lighting)
ความเข้มแสง (Illumination:E)
ปัจจัยด้านเคมี
(Chemical hazards)
ของเหลว (Liquid)
ก๊าซ (Gases) และไอระเหย (Vapors)
ของแข็ง (Solid)
ปัจจัยด้านชีวภาพ (Biological hazards)
มักเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการเกษตร งานภาคเกษตร และงานด้านคลินิก
ปัจจัยด้านการยศาสตร์ (Ergonomic hazards)
ปัจจัยด้านจิตสังคม (Psychosocial hazards)
ผู้ประกอบอาชีพ (Worker)
โรคจากการประกอบอาชีพ
โรคที่เกิดขึ้นจากสาเหตุทางกายภาพ
โรคหูตึงจากเสียง
โรคจากความกดดันอากาศ
โรคที่เกิดขึ้นจากสาเหตุทางชีวภาพ
โรคติดเชื้อ หรือโรคปรสิตเนื่องจากการทำงาน
โรคที่เกิดขึ้นจากสารเคม
เบอริลเลียมหรือสารประกอบของเบอลิเลียม
แคดเมียม หรือสารประกอบของแคดเมียม
โรคระบบหายใจที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงาน
โรคกลุ่มนิวโมโคนิโอสสิ เช่น ซิลิโคสิส แอสเบสโทสิส ฯลฯ
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
โรคผิวหนังที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงาน
โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงสร้างกระดูก ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงานหรือสาเหตุจากลักษณะงานที่จำเพาะหรือมีปัจจัยเสี่ยงสูงในสิ่งแวดล้อมการทำงาน
โรคมะเร็งที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงาน
ถ่านหิน
ไอควันจากเผาไม้
โรคอื่นๆ ซึ่งพิสูจน์ได้ว่าเกิดขึ้นตามลักษณะ
หรือสภาพของงานหรือเนื่องจากการทำงาน
กลุ่มอาการป่วยจากอาคาร
โรคภูมิแพ้สารเคม
แนวคิดพยาบาลกับงานอาชีวอนามัย
การบริการสุขภาพเพื่อดูแลสุขภาพอนามัย
ของผู้ประกอบอาชีพ
การจัดบริการทางด้านสิ่งแวดล้อมในการทำงาน
นางสาวจินตนา พาปา กลุ่ม A3
รหัส 62102301019 เลขที่ 19