Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
physical examination of RESPIRATORY SYSTEM, image - Coggle Diagram
physical examination of RESPIRATORY SYSTEM
การซักประวัติ
past history
ประวัติโรค เช่น โรคหอบหืด วัณโรค
family history
พฤติกรรมความเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัว
present illness
ประวัติสุขภาพ
2.เสมหะ เริ่มมีเมื่อใด ลักษณะเสมหะ ปริมาณ ปัจจัยกระตุ้น
3.หายใจลำบาก ท่าที่หายใจลำบาก ช่วงเวลา การทำกิจกรรม
1.อาการไอ เริ่มไอเมื่อใด ช่วงเวลาที่ไอ ลักษณะ ความถี่
เสียงแหบ การหักเสบ โรคมะเร็ง ใช้เสียงมาก
personal health history
รายละเอียดของงานที่ทำประกอบการวินิจจัย
chief complaint
อาการที่เกี่ยวข้อง เช่น ไอ หายใจลำบาก
inspection
อัตราการหายใจ
คนปกติ 12-20 ครั้งต่อนาที
tachypnea มากกว่า 20 ครั้งต่อนาที เช่น ไข้ คอพอก
bradypnea น้อยกว่า 10 ครั้งต่อนาที ศูนย์หายใจถูกกด
kussmual respiration หายใจลึก
sighing respiration หายใจแบบถอนหายใจ
cheyne-strokes respiration หายใจไม่สม่ำเสมอ
shape of chest
รูปร่างของทรวงอก ความสมมาตรของกระดูกซี่โครงและ sternum
โรค
scoliosis หลังคด ถ้าเป็นมาก กดเนื้อเยื่อปอดได้
xyphosis กระดูกสันหลังเอียงไปด้านใดด้านหนึ่ง
pigeon chest อกนูน กระดูก sternum ยื่นออกมาเหนืออก
funnel chest อกบุ๋ม หรือกระดูก sternum ยุบเข้าไป
barrel shape อกถังเบียร์
การเคลื่อนไหวของทรวงอก
ทรวงอกจะขยายตัวเมื่อหายใจเข้า และแฟบเมื่อหายใจออก
สังเกต อัตราการหายใจ ความลึก จังหวะการเคลื่อน
cyanosis at lip and nail bed
อาการม่วงที่ปากและอวัยวะส่วนปลาย เกิดจากออกซิเจนไปเลี้ยงไม่พอ
palpation
คลำทรวงอกดูการขยายของปอด
1.ให้ผุ้ป่วยอยู่ในท่านั่ง
วางมือทั้งสองทาบลงบนทรวงอกด้านหลัง
3.ออกแรงดันจากข้อมือ
4.ให้ผู้ป่วยหายใจเข้ายาวๆ
5.สังเกตความรุ็สึกของฝ่ามือทั้งสองว่าเท่ากันหรือไม่
คลำ tactile fremitus
ตรวจเเรงสั่นสะเทือนของการพูดส่งผ่านมายังปอดแลผนังทรวงอก
คลำจากบนลงล่างให้ทั่วปอด สังเกตความรู้สึกสั่นสะเทือน
ด้านหน้าคลำตั้งแต่ไหปลาร้าถึงซี่โครงที่ 8
ด้านหลัง คลำ เหนือกระดูกสะบักถึงซี่โครงที่ 11
ปกติจะสั่นสะเทือนมากที่สุดช่วงอก
การคลำหลอดลม
1.อยู่ในท่านั่งหรือนอนหันหน้าตรง
2.พยาบาลใช้ปลายนิ้วชี้ ชี้บน suprasternum notch ทีละข้าง
3.ถ้าเอียงไปด้านใดด้านนั้นปอดแฟบ
precussion
ทราบถึงการมีน้ำและของแข็งในปอด
เคาะจากอวัยวะโปร่งมากไปน้อย
ลักษณะเสียงเคาะ
hyperresonance มีลมอยู่มาก=ถุงลมโป่งพอง
flatness เสียงทึบเหมือนเคาะต้นขา ให้นึกถึงน้ำในเยื่อปอด
dullness ทึบน้อยกว่า 1 = ปอดบวม วัณโรค ปอดแฟบ
tympany เสียงเหมือนเคาะกระเพาะ มีลมในปอดมาก
resonance เสียงปกติ
เริ่มเตคาะจากยอดปอดลงล่าง ซ้ายขวาระนาบเดียวกัน ห่าง 4-5 ซม.
ausculation
ฟังเสียงหายใจ
ฟังเสียงขีดขวาง ทางอากาศมายังปอด
ฟังเสียงลมและน้ำในช่องปอด
ฟังเสียงหายใจ เสียงพูด และฟังเสียงผิดปกติ
ตำแหน่งการฟัง
bronchovesicular breath sound
vasicular breath sound
tracheal (bronchial) beaath sound
เสียงผิดปกติ
rhonchi หลอดลมตีบแคบ
wheezing คล้ายเสียงนกหวีด อากาศผ่านหลอดลมเล็กที่ตีบแคบ
stridor กล่องเสียงบวม หลอดลมใหญ่
crepitation หรือ crackle คล้ายเสียงหวีผม อากาศกระทบน้ำ
การตรวจวินิจจัยอื่นอื่นๆ
การตรวจเลือด = ความเข้มข้น /จำนวนเม็ดเลือดขาว
กาวิเคราะห์ก๊าซออกซิเจน
เอกเรย์
การตรวจเสมหะ
การตรวสมรรถภาพปอด
การส่องกล้อง