Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินระบบทางเดินปัสสาวะและสืบพันธ์ุ, วางตรงนี้นะ - Coggle Diagram
การประเมินระบบทางเดินปัสสาวะและสืบพันธ์ุ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
โครงสร้าง
ท่อไตหรือท่อนําน้ําปัสสาวะ (Ureters)
กระเพาะปัสสาวะ (Bladder)
ไต (Kidney)
ท่อปัสสาวะ (Urethra)
การซักประวัติ
ประวัติการใช้ยา
ประวัติโรคประจําตัวหรือความเจ็บป่วยอื่นๆ
แบบแผนการรับประทานอาหารและน้ํา
แบบแผนการดําเนินชีวิตประจําวัน
อายุ
ความกดดันทางด้านจิตใจ
การออกกําลังกาย
การประเมินภาวะสุขภาพในระบบทางเดินปัสสาวะ
ความผิดปกติเกี่ยวกับลักษณะปัสสาวะ
ปัสสาวะเป็นหนอง
กลิ่นปัสสาวะผิดปกติ
ปัสสาวะเป็นเลือด (Hematuria)
ความผิดปกติเกี่ยวกับจํานวนปัสสาวะ
ถ่ายปัสสาวะน้อยกว่าปกติ (Oliguria)
ภาวะไม่ถ่ายปัสสาวะ (Anuria)
ถ่ายปัสสาวะมากกว่าปกติ (Polyuria)
ความผิดปกติในการขับถ่ายปัสสาวะ
ปวดและแสบเวลาถ่ายปัสสาวะ
กลั้นปัสสาวะไม่ได
ปัสสาวะลําบาก
ควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะไม่ได
ปัสสาวะบ่อยผิดปกต
ปัสสาวะรดที่นอน
ปัสสาวะคั่ง
ปัสสาวะมีลม
อาการบวม (Edema)
อาการปวด
ปวดบริเวณเหนือหัวหน่าว (Suprapubic pain)
ปวดบริเวณ Lower quadrant
ปวดหลังบริเวณ Costovertebral angle
มีก่อนในท้อง (Mass)
การตรวจร่างกายระบบทางเดินปัสสาวะ
หลักการการตรวจร่างกายระบบทางเดินปัสสาวะ
ให้ผู้รับบริการถ่ายปัสสาวะก่อนตรวจ ในรายที่ปัสสาวะเอง
ไม่ได้อาจสวนปัสสาวะให้ตามแผนการรักษาของแพทย์
สถานที่ตรวจควรมิดชิด มีความเหมาะสม และแสงสว่าง
อธิบายให้ผู้รับบริการเข้าใจถึงความจําเป็นว่าทําไมต้องตรวจ
ร่างกายในระบบนี้และมีวิธีการตรวจอย่างไร
จัดทำในการตรวจที่เหมาะสมและสะดวกในการตรวจ
วิธีการตรวจร่างกายระบบทางเดินปัสสาวะ
การตรวจไต
การตรวจ Costrovertebral angle tenderness
การคลําไต
การตรวจกระเพาะปัสสาวะ
การดูควรสงเกตบริเวณหน้าท้องว่ามีกระเพาะปัสสาวะโป่ง
พองหรือไม่
การคลํา และเคาะหาตําแหน่งกระเพาะปัสสาวะบริเวณ
Suprapubic
การตรวจรูเปิดของท่อปัสสาวะ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเจาะเลือดตรวจเพื่อตรวจ Blood urea nitrogen and
Creatinine test
การตรวจปัสสาวะ
ระบบสืบพันธ์ุ
โครงสรา้ง
หญิง
ภายนอก
ทาง
เปิดของท่อปัสสาวะ
ปากช่องคลอด
เม็ดละมุด
เยื่อพรมจารีย์
แคมเล็ก
ต่อมสร้างน้ําเมือก
แคมใหญ
หัวหน่าว
ภายใน
มดลูก
ปีกมดลูก
ช่องคลอด
รังไข
ชาย
ภายนอก
ถุงอัณฑะ
องคชาต
ภายใน
อัณฑะ
ระบบท่อนําอสุจิ
ต่อมต่างๆ
การซักประวัติ.
ชาย
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
เคยเจ็บป่วยเป็นโรคอะไรบ้าง
เคยตรวจเลือดเพื่อหาการติดเชื้อเอชไอว
แบบแผนการดําเนินชีวิตและสุขภาพ
มีการคุมกําเนิดหรือไม่ ใช้วิธีใด
ที่ผ่านมาเคยสัมผัสกับสารเคมีหรือรังสีหรือไม
มีคู่นอนกี่คน เพศใดบ้าง
ในแต่ละวันทํากิจกรรมอะไรบ้าง
อาการปัจจุบัน
มีอาการปวดบริเวณองคชาต ถุงอัณฑะ ลูก
อัณฑะ หรือบริเวณขาหนีบหรือไม่
มีการอักเสบ
มีสารคัดหลั่ง
มีก้อน
การมีเพศสัมพันธ์เป็นปกติหรือไม่
. ประวัติครอบครัว (Family history)
หญิง
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ประวัติครอบครัว
ประวัติการมีประจําเดือน
มีเลือดออกหลังหมดประจําเดือนไปแล้ว
ประมาณ 6 เดือน หรือไม่
ประวัติการไม่มีประจําเดือน หรือการที่ประ
เดือนขาดหายไป ่
ประจําเดือนมาสม่ําเสมอหรือไม
แบบแผนการดําเนินชีวิตและสุขภาพ
อาการปัจจุบัน
มีก่อน
มีอาการปัสสาวะลําบาก
มีอาการปวด
มีสารคัดหลั่ง
มีปัญหาการปฏิบัติกิจกรรมทางเพศหรือไม่
อย่างไร
หลักการตรวจร่างกายระบบอวัยวะสืบพันธุ์
สถานที่ตรวจควรมิดชิด มีความเหมาะสม
ระวังการเป็ดเผยผู้รับบริการ โดยไม่จําเป็น
อธิบายให้ผู้รับบริการเข้าใจ
จัดทำในการตรวจที่เหมาะสมและสะดวก
การตรวจร่างกายระบบอวัยวะสืบพันธุ
การตรวจอวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิง
การฟัง
การเคลื่อนไหวของลําไส้
การเคาะ
หัวหน่าว
การดู
ตรวจภายใน
Vaginal speculum
การตรวจภายในอวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิงโดยการ
คลําด้วยมือมือทั้งสองข้าง
การคลํา
หัวหน่าว,แคมใหญ่, แคมเล็ก, รูเปิดของท่อปัสสาวะ, ช่องคลอด , ฝีเย็บ ต่อมสร้างน้ําเมือก มี 2 ข้างอยู่ตําแหน่ง 5 และ 7
การตรวจอวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย
หัวหน่าวและขนบริเวณหัวหน่าว
องคชาต ดูรูปร่าง ลักษณะ
ถุงอัณฑะ ดูขนาด รูปร่างและตําแหน่ง และสี
รูเปิดของท่อปัสสาวะ
หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ
ต่อมน้ําเหลืองบริเวณขาหนีบ
การตรวจไส้เลื่อน (Hernia)
ตรวจในแลป
Semen analysis
Pregnancy test
คำแนะนำ
ก่อนตรวจ
ไม่สอดหรือเหน็บยาใดๆเข้าในช่องคลอดก่อนวันมารับ
การตรวจ 3 วัน
งดร่วมเพศอยางน้อย 1 - 3 วัน
ไม่ควรล้างช่องคลอด
ไม่ควรตรวจภายในขณะมีประจําเดือน
ขณะตรวจ
ให้ผู้รับบริการปัสสาวะก่อนตรวจ
ทำความสะอาด เปลี่ยนผ้าและนอนลงบนเตียง
อธิบายแก่ผู้รับบริการ
เตรวจเสร็จให้เข้าห้องนำ้ เปลี่ยนเสื้อผ้า
ตัวอย่างการบันทึก
วางตรงนี้นะ