Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมมารดาและ ทารกหลังคลอดของชาวญี่ปุ่น - Coggle Diagram
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมมารดาและ ทารกหลังคลอดของชาวญี่ปุ่น
การดูแลผู้ป่วยข้ามวัฒนธรรมหลังคลอดชาวญี่ปุ่น
เลข 19และเลข37 เมื่ออ่านคล้ายคำว่า ตาย และสยดสยอง ผู้ป่วยชาวญี่ปุ่นจึงมีความเชื่อเกี่ยวกับการเลือกห้องพักเป็นอย่างมาก ผู้ป่วยชาวญี่ปุ่นจะหลีกเลี่ยงการพักในห้องที่มีตัวเลข 19,33,37 โดยเฉพาะผู้ป่วยชาวญี่ปุ่นมารดาหลังคลอดจะหลีกเลี่ยงการพักใน ห้องพัก 33 เป็นอย่างมาก
ผู้หญิงชาวญี่ปุ่นมีความเชื่อเกี่ยวกับตัวเลข 19,33,37 เพราะที่เชื่อว่า ผู้หญิงที่มีอายุ 33 หากตั้งครรภ์เชื่อว่า เด็กที่เกิดมาจะประสบเคราะห์กรรม หากหลีกเลี่ยงไม่พ้นก็ต้องทำพิธีแก้เคล็ด โดยนำเด็กไปทิ้งกลางสี่แพร่งแล้วให้คนรู้จักไปตามไปเก็บมาคืนให้
ผู้ป่วยชาวญี่ปุ่นมีความเชื่อในทิศทางตะวันออกเฉียงเหนือ ผู้ป่วยชาวญี่ปุ่นมีการหลีกเลี่ยงห้องพักในโรงพยาบาลที่หันศีรษะไปทางทิศทาง ตะวันออกเฉียงเหนือ เพราะมีความเชื่อว่าเป็นทิศทางที่ไม่ดี เป็นที่อาศัยของสิ่งชั่วร้าย
ความเชื่อชาวญี่ปุ่นที่มีต่อมารดาและเด็กทารก
การให้กำเนิดบุตรคนแรกของหญิงญี่ปุ่น
เมื่อใกล้คลอดหญิงชาวญี่ปุ่นจะเดินทางกลับไปยังบ้านเกิดของตน เพื่อให้กำเนิดบุตร
ความเชื่อในเรื่องคุณตาของเด็กทารก
oshichiyas มีขึ้นภายหลังจากที่เด็กทารกลืมตาดูโลกได้หนึ่งสัปดาห์
ทารกจะอยู่ในเครื่องนุ่งห่มสีขาว ที่แสดงถึงความบริสุทธิ์ตามหลักศาสนาชินโต
คุณตาจะใช้พู่กันเขียน ชื่อ นามสกุล วัน เดือน ปีที่เกิดบนกระดาษมงคล
เชื่อเรื่องการรับขวัญบุตรหลาน ทารกจะได้รับของขวัญจากญาติ และเพื่อนบ้าน
การรักษาสายสะดือ
ชาวญี่ปุ่นให้ความสาคัญกับสายสะดือของเด็กทารก
มารดาจะนากล่องสาย สะดือของเด็กทารกไปเก็บรักษาไว้อย่างดี เพราะเชื่อว่าเป็นสิ่งที่แสดงความผูกพันอันแนบแน่นของครอบครัว
ความเชื่อในเรื่อง คุณย่าของเด็กทารก
คุณย่าเป็นเพียงคนเดียวที่จะมีสิทธิอุ้มและพาหลานตนของไปเยี่ยมวัดในหมู่บ้าน
เพื่อทำพิธีอันเป็นมงคลที่เรียกว่า omiyamairi ให้กับเด็กทารก
กำหนดให้พาทารกชายที่มีอายุครบ 31 วัน
ทารกหญิงที่มีอายุครบ 33 วัน ทำพิธีที่วัดในหมู่บ้านที่เด็กเกิด
พิธีครบ 17 วัน
เด็กแรกเกิดนั้น มีความบริสุทธิ์ เด็กเกิดใหม่ถูกห่อหุ้มด้วยชุดสีขาวเท่าน้ัน
อายุครบ 17 วัน ซึ่งนานพอที่จะทำให้เชื่อได้ว่า ทารกน้อยน้ันเป็นมนุษย์จริง ๆ ไม่ใช่พระผู้เป็นเจ้าจึงจะเปลี่ยนชุดเป็นสีสัน
หลังคลอด 1 วัน
คุณแม่ต้องให้นมลูกทันที เพื่อให้แม่ฟื้นตัวเร็ว
ไม่อาบน้าสระผมเลยเป็นเวลา 1 เดือน มีการบดขิงขัดผิวเพื่อบำบัดรักษา
พาเด็กทารกอายุ 1 เดือนขึ้นไหว้ศาลเจ้าประจำเมือง
เด็กผู้ชายจะไปในวันที่ 31 หรือ 32 หลังคลอด
เด็กผู้หญิงจะพาไปวันที่ 32 หรือ 33 หลังคลอด
เพื่อสวดภาวนาขอให้เด็กแข็งแรง เติบโตภายใต้การดูแลของเทพเจ้า
สมรรถนะที่สำคัญของพยาบาล ในการพยาบาลผู้ป่วยชาวญี่ปุ่น
สมรรถนะด้านการบริหารความเสี่ยง
สมรรถนะด้านกระบวนการพยาบาล
สมรรถนะด้านการติดต่อสื่อสารคือการมีบุคลิกภาพ
สมรรถนะด้านจริยธรรม
สมรรถนะด้านการรับรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรม
ความเชื่อของคนญี่ปุ่น
ที่ยังคงมีอยู่และสืบทอดมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นรากเหง้าที่หยั่งลึก จนอาจเป็นบรรทัดฐาน และเป็นที่มาของขนบธรรมเนียม
แม้ว่าจะมีความเชื่อบางอย่างที่แตกต่างจากคนเอเชียอื่นๆ แต่ พื้นฐานโดยรวมแล้วคล้ายคลึงกันคือ เพื่อความปลอดภัย ความมั่งคั่ง การบ่มเพาะนิสัยให้เป็นคนมีเมตตา กล้าหาญ อดทน ขยัน และไม่ประมาท ในที่นี่จะกล่าวถึง การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมมารดาและทารกหลังคลอดของชาวญี่ปุ่น