Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สุขศึกษาและคำแนะนำแก่หญิงตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การให้สุขศึกษาและคำแนะนำแก่หญิงตั้งครรภ์
การสร้างภูมิคุ้มกันโรค
การรับวัคซีน DT
การให้วัคซีนโควิด
19 รับได้อายุครรภ์ครบ 12 สัปดาห์หรือ 3 เดือน
โภชนาการ
ควรรับเพิ่มจาก2200 --> 2500 kcal/day และรับประทานธาตุเหล็กเพื่อป้องกันการเกิดโรค iron deficiency anemia
การพักผ่อน
นอนตะแคงซ้าย ใช้หมอนเล็กๆรองบริเวณใต้ท้องและใต้เข่า หลีกเลี่ยงนอนหงายราบนอนๆเพื่อป้องกันการกดทับของหลอดเลือดดำใหญ่
การออกกำลังกาย
ออกได้ทำให้สุขภาพดดี ยกเว้นมีภาวะแท้ง
การดูแลฟัน
ระหว่างการตั้งครรภ์ อาการคลื่นไส้อาเจียน ทำให้มีเศษอาหารตกค้างในปาก แนะนำให้บ้วนปากบ่อยๆหรือแปรงฟันบ่อยๆ
การรักษาความสะอาดร่างกาย
ไม่ควรอาบน้ำในลำคลอง เพื่อป้องกันน้ำที่สกปรกเข้าไปในช่องคลอด เกิดการอักเสบได้
การแต่งกาย
ใช้เสื้อผ้าหลวมๆ ไม่รัดรูป รองเท้าไม่มีส้น ยกทรงเหมาะกับเต้านม
การขับถ่าย
ปัสสาวะ
ปัสสาวะบ่อย
:pencil2:ระยะแรก มดลูกเบียดกระเพาะปัสสาวะ
:pencil2:ระยะใกล้คลอด เพราะส่วนนำของทารกกดกระเพาะปัสสาวะ
อุจจาระ
การเคลื่อนไหวลำไส้น้อย จากprogesterone มีอาการท้องอืด ท้องผูกได้
การมีเพศสัมพันธ์
สามารถมีได้ แต่ถ้ามีปัญหาเกี่ยวกับรกหรือคลอดก่อนกำหนด หรือเคยแท้ง งดร่วมเพศช่วง 3-4 เดือนแรก
การเดินทาง
ไม่ควรเดินทาง อายุก่อน 16 week เพราะอาจจำทำให้แท้งได้ และไม่ควรทางไกล อายุครรภ์ 25-36 สัปดาห์
อาการผิดปกติ ที่ต้องมาโรงพยาบาล
:check:เลือดออกช่องคลอด
:check:ทารกในครรภ์ไม่ดิ้น
:check:น้ำคร่ำเดินก่อนกำหนด
:check:เจ็บครรภ์หรือมดลูกหดตัวแข็งถี่ผิดปกติ
อาการนำก่อนคลอด
Mucous bloody show
มีน้ำเดินเกิดจากการที่ถุงน้ำมีการแตกเป็นน้ำใสๆออกจากช่องคลอด
True/False Labour Pain
การดูแลมารดาที่มีอาการไม่สุขสบาย
ไตรมาสแรก
คลื่นไส้อาเจียน
มีน้ำลายมาก
เหงือกอักเสบ
ตกขาว
ไตรมาสสอง
ร้อนในอก
ท้องผูก
ริดสีดวงทวาร
ใจสั่นเป็นลม
ไตรมาสสาม
เส้นเลือดขอด
หายใจตื้นและลำบาก
ตะคริว
ปวดหลัง ข้อต่อต่างๆ
ปัสสาวะบ่อย
คัน
บวม
การปรับตัวด้านจิตสังคมในหญิงตั้งครรภ์
บทบาทของพยาบาล
:<3:Caregiver
:<3:Health educator
:<3:Counselor
:<3:Collaborator
การพยาบาลไตรมาส1
พัฒนกิจขั้นที่1
สร้างความมั่นใจและยอมรับการตั้งครรภ์ โดยการกระตุ้นให้มีการระบายความรู้สึก ให้ความรู้เกี่ยวกับการตั้งครรภ์
การพยาบาลไตรมาส2
พัฒนกิจขั้นที่ 2
การรับรู้การมีตัวตนของทารก และรู้ว่าทารกเป็นส่วนหนึ่งของตน โดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เปิดโอกาสให้แสดงออกถึงความรู้สึก ให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง ส่งเสริมความรู้สึกดีต่อทารก
พัฒนกิจขั้นที่3
การยอมรับว่าทารกเป็นบุคคลหนึ่งที่มีบุคลิกภาพแตกต่างไปจากตน โดยให้ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงดู สำรวจคุณค่าของทารกที่มีต่อหญิงตั้งครรภ์
การพยาบาลไตรมาส3
พัฒนกิจขั้นที่4
การเปลี่ยนแปลงบทบาทเป็นมารดา โดยการให้ความรู้เกี่ยวกับการเจ็บครรภ์การคลอดและการลดปวดขระคลอด ให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวเพื่อลดอาการไม่สขสบายทางด้านร่างกาย ทำให้หญิงตั้งครรภ์รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า