Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2 ราชภัฏเชียงใหม่ภายใต้วิถีล้านนา, c8918539712b0e73c821b81e1731c627,…
บทที่2 ราชภัฏเชียงใหม่ภายใต้วิถีล้านนา
ประวัติศาสตร์ล้านนา
สมัยรัฐอาณาจักร (ราชวงศ์มังราย)
ก่อตั้งอาณาจักรล้านนาโดยรวมแคว้นหริภุญไชย เข้ากับแคว้นโยน และสถาปนาเมืองเชียงใหม่ขึ้นเป็นศูนย์กลาง
อาณาจักรล้านนาเจริญสุดในสมัยพระเจ้าติโลกราชและพระเมืองแก้ว
ดินแดนล้านนาได้พัฒนาการปกครองจากแว่นแคว้น-นครรัฐมาสู่รัฐแบบอาณาจักรโดยมีเชียงใหม่เป็นศูนย์กลาง
อาณาจักรล้านนาล่มสลายในช่วงปลายสมัยราชวงศ์มังราย
ล้านนาสมัยพม่าปกครอง
ยุคแห่งความอ่อนแอของล้านนา
การก่อสร้าง
เริ่มต้นพุทธศตวรรษที่19 สถาปนานครเชียงใหม่ พศ1839 ถึงปัจจุบันอายุกว่า 700 ปี
สมัยแว่นแคว้น-นครรัฐ
ดินแดนล้านนามีรัฐต่างๆกระจายตามที่ราบระหว่างหุบเขาในภาคเหนือ
มีพัฒนาการเป็นรัฐขนาดเล็กหรือรัฐชนเผ่าเกิดขึ้น
ลัวะ ตั้งถิ่นฐานกระจายทั่วไปในภาคเหนือ
เม็ง ตั้งถิ่นฐานในภาคเหนือมาช้านาน
ล้านนาสมัยเป็นเมืองประเทศราชของไทย
พระเจ้าตากสิน แต่งตั้ง "พระญาจ่าบ้าน" เป็นพระยาวิเชียรครองเมืองเชียงใหม่ พระเจ้ากาวิละครองเมืองลำปาง
ล้านนาเข้าเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของไทยในสมัย รัชกาลที่5
เสร็จสงครามขับไล่พม่า
แกนหลัก
เชียงใหม่-ลุ่มน้ำปิง
เชียงแสน-เชียงราย-ลุ่มแม่น้ำกก
ภูมิศาสตร์ล้านนา
ล้านนา:เมืองสิบแสนนา "ทสลกเขตนคร"
พระเจ้ามังราย:แคว้นโยน หรือ โยนก และแคว้นพิง
พระเจ้าติโลกราช:ท้าวล้านนา พระยาล้านนา ชาวล้านนา
ตำนานสุวรรณคำแดง:อาณาจักรล้านนา
กือ หมายถึง ร้อยล้าน กือนา หมายถึง ร้อยล้านนา
พระเจ้าสามฝั้งแกน:ล้านนาเชียงแสน ล้านนาเชียงใหม่
อาณาจักรล้านนา:พระเจ้ากือนา
ดินแดนล้านนาปัจจุบัน
กลุ่มล้านนาตะวันตก: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงราย พะเยา แม่ฮ่องสอน
กลุ่มล้านนาตะวันออก: แพร่ น่าน
กลุ่มชาติพันธุ์ในล้านนา: ชาวไทลื้อ ชาวไทจีน ชาวไทยวน ชาวไทใหญ่ ชาวเม็ง ชาวลัวะ กระเหรี่ยง เมี่ยน ม้ง อาข่า ลาหู่ ลีซู ขมุ มลบรี และปาดอง(กะเหรี่ยงคอยาว)
ความเหมาะของที่ตั้งเมืองเชียงใหม่(ชัยภูมิ 7 ประการ) กับการสร้างเมืองเชียงใหม่
พื้นที่ลาดเอียง>>น้ำไม่ท่วม
ดอยสุเทพ>>ต้นน้ำหล่อเลี้ยงเมือง
กวางเผือก เก้งเผือก หนูเผือก>>พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์
แหล่งน้ำ>>สำหรับเกษตรกรรม
สถาบันล้านนาศึกษา อัตลักษณ์สู่ความเป็นมาของเมืองเชียงใหม่
โครงการสืบสวนประเพณีในการเข้าร่วมขบวนแห่พระพุทธสิหิงค์ในเทศกาลสงกรานต์
โครงการฝึกอบรมด้านศิลปกรรมวัฒนธรรมล้านนา
โครงการสืบสวนประเพณีรดน้ำดำหัวในเทศกาลสงกรานต์
โครงการจัดทำวารสารทางวิชาการเกี่ยวกับวัฒนธรรม "ข่วงผญา"
ห้องศูนย์ข้อมูลภูมิปัญญาล้านนา
โครงการบรรพชา อุปสมบท-เนกขัมมะ
ศูนย์ใบลานศึกษา
โครงการธรรมศึกษา
เรือนอนุสารสุนทร
โครงการหล่อเทียนและแห่เทียนเข้าพรรษา