Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบกล้ามเนื้อ (The Muscular system) - Coggle Diagram
ระบบกล้ามเนื้อ
(The Muscular system)
TYPESofMOSCLE
(According to appearance or movement)
แบ่งออกเป็น 3 ชนิดตามการทำงานและที่อยู่ได้แก่
Skeletal muscle tissue
(Voluntary control)
กล้ามเนื้อลาย
(Skeletal muscle)
เซลล์ของกล้ามเนื้อลายมีลักษณะ
เป็นทรงกระบอกยาวเรียว
อยู่ในอำนาจจิตใจ
ภายในเซลล์พบนิวเคลียส
รูปไข่หลายอัน
โครงสร้างของกล้ามเนื้อลาย
Myofilament
เส้นใยหนา (Thick filament หรือ
myosin filament)
ประกอบด้วยโมเลกุลของไมโอซิน
(myosin)ซึ่งเป็นโปรตีน ประกอบด้วย
เส้นใยของโปรตีนชนิดหนัก
(Heavy polypeptide chain) 2 สาย
เส้นใยโปรตีนชนิดเบา
(Lightpolypeptidechain)เป็นหัวของไมโอซีน
เส้นใยบาง (Thin filament หรือ actin filament)
Troponin มีลักษณะกลม
ประกอบด้วย
-Troponin-C เป็นหน่วยที่รวมตัวกับ Ca2+
-Troponin-I เป็นหน่วยที่คอยป้องกันการเกิดสะพานเชื่อม
-Troponin-Tเป็นหน่วยทรี่วมกบัTropomyosin
Tropomyosin
มีลักษณะเป็นเส้นใย 2 เส้น
พันกันเป็นเกลียว
Actin ประกอบด้วย
G-actin ส่วนที่รวมกันเป็นก้อนทำหน้าที่จับกับ
head ของ myosin
F-actin ส่วนที่พับเป็นเกลียว
(โมเลกลุPolypeptine)
Muscle contraction
Muscle contraction
โครงสร้างอื่นๆที่ช่วยในการหดตัวของกล้ามเนื้อ
Sarcoplasmic reticulum (SR)
ทำหน้าที่สะสมแคลเซียม
Transverse Tubular System (T-Tubule)
นำสัญญาณประสาทเข้าสู่ Triad ซึ่งจะเหนี่ยวนำให้มีการหลั่งแคลเซียมไอออนจาก SR เข้าไปในเซลล์
เส้นประสาทและรอยต่อประสาทกับกล้ามเนื้อ
(nerve and neromuscular junction)
1 more item...
มีทั้งหมด 792 มัด คือประมาณ 40% ของน้ำหนักตัว
การเรียงตัวของเส้นใยกล้ามเนื้อลาย
Bipennate
(rictus femorals)
Multipennate
(deltoideus)
Unipennate
(digiltl extensor)
Convergent
(pectoralis)
Fusiform
(biceps brachial)
Circular
(orocularis oculi)
Parallel
(abdominal muscles)
การเรียกชื่อกล้ามเนื้อ
1.ตำแหน่งที่ตั้ง (Location) เช่น Temporalis, Intercostal, Tibialis anterior
2.การจัดเรียงตัวของใยกล้ามเนื้อ (FascicleOrganization) เช่น
กล้ามเนื้อที่วางตัวในแนวตรง มักตั้งชื่อว่า rectus
กล้ามเนื้อที่วางตัวแนวตามขวาง ว่า transverse
กล้ามเนื้อที่วางตัวในแนวเฉียง ว่า oblique
3.ตามรูปร่าง
3.1.ตามขนาด
▪Longus, Brevis
▪Major, Minor
▪Maximus, Minimus
Deltoid (triangle)
Trapezius (Trapezoid)
Palmaris longus (long)
Palmaris brevis (short)
7.ตามจุดเกาะต้นหรือจุดเกาะปลาย
(Origin and insertion) ชื่อหน้ามักจะบอกถึงตำแหน่งจุดเกาะต้น และชื่อหลังมักจะบอกถึงตำแหน่งจุดเกาะปลาย เช่น Sternocleidomastoid
4.จำนวนจุดเกาะต้น (Origin or head) เช่นกล้ามเนื้อ biceps มีจำนวน 2 หัว กล้ามเนื้อ triceps มีจำนวน 3 หัว และหัวและกล้ามเนื้อ quadriceps มีจำนวน 4 หัว
6.ตามตำแหน่งของความสัมพันธ์ (RelativePosition) เช่น กล้ามเนื้อที่อยู่ภายนอกหรืออยู่บริเวณผิว มักมีคำว่า externus หรือ
superficialis ส่วนกล้ามเนื้อที่อยู่ลึก มักมีคำว่า
internus หรือ profundus
หน้าที่การทำางาน (Function) เช่น flexor, extensor, abductor, adductor, rotator
Smooth muscle tissue
(lnvoluntary control)
กล้ามเนื้อเรียบ (Smooth muscle)
พบตามผนังของอวัยวะในระบบไหลเวียนเลือด
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระบบหายใจ
ระบบสืบพันธุ์
กล้ามเนื้อขนตา และม่านตา
ตามท่อของต่อมต่างๆ
โครงสร้างของกล้ามเนื้อเรียบ
ไม่มีลายในเห็น
Nucleus อยู่ตรงกลางเซลล์ 1 อัน
SR เจริญไม่ดีเหมือนในกล้ามเนื้อลาย
ไม่มี T-tubule และไม่พบ Triad
เซลล์มีรูปร่างคล้ายกระสวย (spindle)
การควบคุมทางเส้นประสาทและฮอร์โมน
มีเส้นใยประสาทของระบบประสาทอัตโนมัติมาเลี้ยง
ควบคุมโดยสารเคมีที่ใช้ระหว่างเซลล์ เช่น
อะเซทิคโคลีนและนอร์อิพิเนฟริน
ไม่มีแผ่นปลายประสาทมอเตอร์เหมือนกับ
กล้ามเนื้อลาย
Cardiac muscle tissue
(lnvoluntary control)
กล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac muscle)
มีแถบและคล้ายกล้ามเนื้อลาย
แต่เซลล์มีขนาดเล็กกว่า
ส่วนประกอบของกลัามเนื้อหัวใจ
ชนิดของกล้ามเนื้อหัวใจ
1.เซลล์ทำหน้าที่หดตัว (Contractile cell)
ได้แก่ เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการหดตัวพบได้ที่ผนังหัวใจทั้ง 4 ห้อง
2.กลุ่มเซลล์เพซเมคเกอร์ (Pacemaker cell)
ทำหน้าที่ผลิตศักย์ทำงาน (Action potential)
ได้เอง และส่งสัญญาณไฟฟ้าไปกระตุ้นให้เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจหดตัวมี 2 ชนิด
ปุ่มเอสเอ (Sinuatrial node : S-A node)
ปุ่มเอวี (Atrioventricular node : A-V node)
3.กลุ่มเซลล์นำไฟฟ้าพิเศษ
(Specialized conduction cell)
มีหน้าที่นำสัญญาณไฟฟ้าไปสู่ส่วนต่างๆของตัวใจ
ได้แก่ bundle of His และ Punkinje fiber
การทำงานคล้ายกล้ามเนื้อเรียบ (PacemakerและSyncytium)
Nucleus อยู่ตรงกลางเซลล์ 1 อัน
มี T-tubule ใหญ่กว่า และ SR ไม่มีการพัฒนา
เป็นกระเปาะ
ไม่พบ Triad
เส้นประสาท
เส้นประสาทที่มาเลี้ยงและควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ คือประสาทอัตโนมัติทั้งประสาท
ซิมพาเธติคและพาราซิมเธติค
กล้ามเนื้อมัดต่างๆของร่างกาย
2.กล้ามเนื้อที่ทำหน้าที่ในการบดเคี้ยว
(muscleofmastication)
ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวของ
temporomandibular joint กล้ามเนื้อ
มีทั้งหมด 4 คู่ได้แก่
Temporalis
Insertion: Coronoid process
ของกระดูก Mandible
action: ยกขากรรไกรล่างขึ้น ทำให้หุบปาก
และถอยไปข้างหลัง
Origin: Temporalfossa ของ Temporal
Masseter
Insertion: มุมของกระดูก mandible
Action: ยกขากรรไกรล่างขึ้น
origin: Zygomatic arch
Lateral pterygoid
Origin: superior head: greater wing
ของกระดูก sphenoid
inferior head: lateral pterygoid
Insertion: superior head: capsule and & articular disk of the temporomandibular joint;
inferior head: ด้านหน้าของ กระดูก mandible
Action: ยื่น กระดูก mandible มาทางด้านหน้า
และไปด้านหลัง
Medial pterygoid
Origin: Lateral pterygoid plate ของกระดูก sphenoid กระดูก Palatine
กระดูก maxilla
Insertion: ผิวด้านในของกระดูก mandible
Action: ยกกระดูก mandible ขึ้น
และทำให้มีการเคลื่อนกระดูก
mandible ออกไปด้านข้าง
1.กล้ามเนื้อแสดงสีหน้า
(muscles of facial expression)
กล้ามเนื้อของหนังศรีษะ
Frontalis
origin: Galeaaponeurosis
Insertion: ผิวหนังบริเวณคิ้ว
action: ยักคิ้ว หน้าผากย่น
Occipitalis
Insertion: Galea aponeurosis
Action: ดึงหนังศรีษะไปด้านหลัง
origin: กระดูก Occipital และ mastoidprocess
ของกระดูก temporal
กล้ามเนื้อรอบเบ้าตา
Corrugator supercilii
origin: กระดูก Frontal(ตรงบริเวณดั้งจมูก)
Insertion: ผิวหนังบริเวณคิ้ว
Action: ขมวดคิ้ว
Orbicularis Oculi
Insertion: เนื้อเยื่อรอบๆเบ้าตา
action: หลับตา กระพริบตา หยีตา
Origin: ผนังด้านในของเบ้าตา
กล้ามเนื้อรอบจมูก
Nasalis
Origin: กระดูก maxilla
insertion: พังผืดที่คลุมอยู่บน nasal
cartilage และด้านข้างของปีกจมูก
ประกอบด้วย 2 ส่วน
tranverse part หรือ compressor nalis
ทำให้รูจมูกแคบลง
alar part หรือ dilator nalis
ทำให้รูจมูกกว้างขึ้น
กล้ามเนื้อรอบปาก
Orbicularis Oris
insertion: ผิวหนังบริเวณริมฝีปากและ
เยื่อบุรอบๆปาก
action: เม้มริมฝีปาก หรือหุบปาก
origin: กล้ามเนื้อหลายๆมัดที่อยู่บริเวณปาก
Levator labii superioris
insertion: กล้ามเนื้อ orbicularisoris และ
ผิวหนังรอบๆปาก
action: ดึงริมฝีปากขึ้นเพื่อช่วยในการเปิดปาก
และทำให้รูจมูกผายออก
origin: กระดูก zygomatic และขอบล่าง
ของเบ้าตาตรงกระดูก maxilla
Zygomaticus
แบ่งกล้ามเนื้อนี้เป็น 2 มัดได้แก่
Zygomaticus major
Zygomaticus minor
Risorius
action: ดึงมุมปากขึ้นบนและไปด้านข้าง
insertion: เกาะกับกล้ามเนื้อ orbicularis
oris และผิวหนังบริเวณมุมปาก
origin: พังผืดบริเวณแก้ม
Levator anguli oris
origin: Canine (canine fossa)
insertion: มุมปาก (angle of the mouth)
action: ยกมุมปากขึ้นทำให้เห็นฟันขณะยิ้ม
Mentalis
insertion: ผิวหนังบริเวณคาง
action: ทำคางย่น
origin: กระดูก mandible
Buccinator
insertion: ติดกับกล้ามเนื้อ Orbicularisoris
action: ช่วยในการดูด การเคี้ยวอาหาร
การกลืน ผิวปาก
origin: ผิวด้านนอกของ mandible และ maxilla
Depressor labii inferioris
insertion: กล้ามเนื้อ orbicularisoris และ
ผิวหนังบริเวณริมฝีปากล่าง
action: ดึงริมฝีปากล่างลง
origin: กระดูก mandible บริเวณ
ด้านข้างของแนวกลาง
กล้ามเนื้อคอ
Platysma
origin: พังผืดบริเวณคอและหน้าอก และไหล่
Insertion: กระดูก mandible ผิวหนังและ
กล้ามเนื้อบริเวณหน้าทางด้านล่าง
action: ดึงคางลงและริมฝีปากล่างลงมา
3.กล้ามเนื้อที่พื้นที่ของช่องปาก
(muscle of the floor of the oral cavity)
ทำหน้าที่ยกกล่องเสียงและกระดูก hyoid
ขึ้นขณะกลืนอาหารหรือดึง
ขากรรไกรล่างลงเวลาอ้าปาก
4.กล้ามเนื้อของกล่องเสียง
(muscle of the larynx)
ช่วยในการพูด
ช่วยเปิด ปิดกล่องเสียงขณะพูด
ดึงกล่องเสียงขึ้นขณะกลืนอาหาร
5.กล้ามเนื้อในการเคลื่อนไหวศรีษะและคอ
(muscle moving the head and neck)
Splenius capitis
insertion: ใต้ superior nuchal line และ บริเวณ mastoid process
Origin: Ligament nuchae และ spinous processes of C1-T3
Semispinalis capitis, Cervicis and spinalis
Origin: C7-T6
Insertion: กระดูก Occipital
Longissimus Capitis
Action: กล้ามเนื้อทั้ง 3 มัดข้างต้น
เมื่อกล้ามเนื้อทั้ง 2 ข้างทำงานพร้อมกัน
จะทำให้เกิดการเงยศรีษะและคอ ถ้าหดตัวข้างเดียวศรีษะจะหมุนไปด้านเดียวกับกล้ามเนื้อหดตัว
Insertion: ขอบด้านล่างของกระดูก
mastoid process
Origin: Transverse processes of C5
Sternocleidomastoid
Action: หดตัวพร้อมกัน 2 ข้างจะก้มศรีษะ
หดตัวข้างเดียวช่วยในการหมุนศรีษะ
ไปด้านตรงกันข้าม
insertion: Insertion: Mastoid process ของ Temporal และ occipital บางส่วน
Origin: manubrium ของกระดูก sternum และ ด้านในของกระดูก clavicle
Scalenes
insertion: Insertion: Ribs 1-2
Action: ก้มและหมุนคอยกกระดูกซี่โครง
อันที่1-2 ขึ้นในขณะหายใจเข้า
Origin: Transverse processes ของ C2-C6
Levator scapulae
insertion: ขอบกระดูกในของกระดูก scapular
Action: ยกกระดูก scapular ขึ้น
และหันคอไปด้านข้าง
Origin: Transverse processes of C1-C4
Longus Colli
Origin: Transverse processes และ body ของกระดูกสัน หลังระดับคอ
Action: ก้มศรีษะไปทางข้างหน้า
19.กล้ามเนื้อภายในเท้า
(Muscle of the foot)
1.กล้ามเนื้อทางด้านหลังเท้า
(Muscle on the dorsum of the foot)
Extensor digitorum brevis
Origin: Calcaneous ตาตุ่มด้านข้าง
(lateral malleolus) และด้านล่าง ของ
extensor retinaculum
Action: เหยีดข้อต่อ metatarsophalangeal
ของนิ้วเท้าที่ 1
Insertion: เส้นเอ็นของกล้ามเนื้อ extensor digitorum longus
2.กล้ามเนื้อย่าเท้า
(Muscle in the sole of the foot)
2.2.กล้ามเนื้อชั้นที่ 2 ของฝ่าเท้า
2.2.1 Quadratus plantae
2.2.2 Lumbricals (foot)
2.3.กล้ามเนื้อชั้นที่ 3 ของฝ่าเท้า
2.3.2 Adductor hallucis
2.3.4 Flexor digiti minimi brevis (foot)
2.3.1 Flexor hallucis brevis
2.1.กล้ามเนื้อชั้นที่ 1 ของฝ่าเท้า
2.1.2 Flexor digitorum brevis
2.1.3 Abductor digiti minimi (foot)
2.1.1 Abductor hallucis
2.4.กล้ามเนื้อชั้นที่ 4 ของฝ่าเท้า
2.4.1 Plantar interossei
2.4.2 Dorsal interossei
18.กล้ามเนื้อปลายขา
(muscle of the leg)
กลุ่มกล้ามเนื้อด้านหน้า
Extensor digitorum longus
Insertion: Middle และ distal phalange
ของนิ้ว ที่ 2-5
action: กระดกปลายเท้าขึ้นและเหยียดนิ้วเท้า
origin: Lateral condyle ของกระดูก tibia
Extensor hallucis longus
origin: ผิวด้านหน้าของกระดูก fibula
และ interosseous membrane
Actions: กระดกปลายเท้าขึ้นและเหยีดนิ้วที่ 1
Insertion: Middle และ distal phalange
ของนิ้ว ที่ 2-5
Peroneus Tertius
Insertion: ฐานของกระดูก metatarsal ชิ้นที่ 5
Actions: กระดกปลายเท้าขึ้น
origin: ผิวด้านหน้าของกระดูก fibula ตอนปลาย
Tibialis Anterior
กระดูก cunieform และ metatarsal ชิ้นที่ 1
Action: กระดูกปลายเท้าขึ้นและเหยียดนิ้วเท้า
origin: Lateral condyle ของกระดูก tibia
กล้ามเนื้อด้านนอก
Peroneus longus
Insertion: 1st cuneiform and 1
metatarsal bones
actions: กระดกปลายเท้าขึ้นและเหยียดนิ้วที่ 1
Origin: ผิวด้านหน้าของกระดูก fibula ด้านบน
Peroneus brevis
origin: ผิวด้านหน้าของกระดูก
fibula ตอนปลาย
insertion: ฐานของกระดูก metatarsal ชิ้นที่ 5
Actions: กระดกปลายเท้าขึ้น
กล้ามเนื้อด้านหลัง
Superficial muscles: triceps surae
and plantaris
Soleus
Insertion: Calcaneous tendon
action: ถีบปลายเท้าลง
Origin: ด้านหลัง headoffibula
และด้านหลังของ กระดูก tibia
Plantaris
Origin: ตอนล่างของกระดูก femur ตรง Lateral supracondylar ridge ของกระดูก femur
Insertion: Calcaneous tendon
action: ถีบปลายเท้าลง
Gastrocnemius
Insertion: Calcaneus tendon
function: ถีบปลายเท้าลง
Origin: lateral and medial condyles of femur
Deep muscles
Flexor hallucis longus
Insertion: distal phalanx ของนิ้วโป้ง
Actions: ถีบปลายเท้าลง งอนิ้วเท้า
และหัดฝ่าเท้าเข้าด้านใน
Origin: ด้านหลัง ของกระดูก fibula และ interosseous mambrane
Tibialis Posterior
Origin: Posterior surface of tibia and fibula
Insertion: Navicular bone, Cuneiform,
cuboid และฐานของกระดูก metatarsal ชิ้นท่ี 2-5
Action: ถีบปลายเท้าลง งอนิ้วเท้า
และหันฝ่าเท้าเข้าด้านใน
Extensor digitorum brevis
Origin: Calcaneous ตาตุ่มด้านข้าง
(lateral malleolus) และด้านล่าง ของ
extensor retinaculum
Insertion:เส้นเอ็น ของกล้ามเนื้อ
extensor digitorum longus
Action:เหยีดข้อต่อ metatarsophalangeal
ของนิ้วเท้าที่ 1
Extensor hallucis brevis
Origin: Calcaneous ตาตุ่มด้านข้าง
(lateral malleolus) และ ด้านล่างของ
extensor retinaculum
Action: flexes and medially rotates leg
Insertion: proximal phalanx ของนิ้วโป้ง
Popliteus
Insertion: ผิวทางด้านหลังส่วนบนของกระดูก tibia
action: ถีบปลายเท้าลง งอเท้า
และหันฝ่าเท้าเข้าด้านใน
Origin: lateral condyle of femur
17.กล้ามเนื้อของต้นขา
(muscle of the thigh)
กลุ่มกล้ามเนื้อทางด้านหน้า
Sartorius
Insertion: ผิวด้านในของกระดูก tibia ทางด้านบน
Function: หุบต้นขา งอปลายขา
และช่วยหมุนปลายขาทางด้านใน
Origin: anterior superior iliac spine
ของกระดูก ilium
Quadriceps femoris
a. Rectus femoris
Insertion: Patellar ligament (tibial tuberosity)
Function: เหยียดปลายขา
Origin: Anterior Inferior Iliac Spine
ของกระดูก ilium
b. Vastus medialis
Origin: Intertrochanteric line
และ linea aspera ของ กระดูก femur
Insertion: Patellar ligament (tibial tuberosity)
action: เหยียดปลายขา
c. Vastus intermedius
Insertion: Patellar ligament (tibial tuberosity)
action: เหยียดปลายขา
Original: Anterior and lateral surface
of the femur
d. Vastus lateralis
Insertion: Patellar ligament (tibial tuberosity)
Action: เหยียดปลายขา
Origin: Linea aspera and Greater trochanter
กล้ามเนื้อทางด้านใน
Adductor magnus
Origin: กระดูก ischium และ pubis
Insertion: Linea aspera ของกระดูก femur
Action: หุบต้นขา
Adductor longus
Oiginal: Inferior ramus ของกระดูก pubis
Insertion: Linea aspera ของกระดูก femur
Action: หุบต้นขา
Adductor brevis
Oigin: บริเวณ body ของกระดูก pubis
Insertion: บริเวณ pectineal line และ
linea aspera ของกระดูก femur
Action: งอ และ หุบต้นขา
Pectineus
Origin: superior ramus ของกระดูก pubic
Insertion: ด้านบนของ lesser trochanter
ของกระดูก femur
Action: งอ และ หุบต้นขา
Gracilis
Origin: Pubis symphysis
Insertion: ด้านในของกระดูก tibia
Action: หุบต้นขา
กล้ามเนื้อทางด้านหลัง
Semimembranosus
Insertion: Medial condyle of tibia
Action: งอปลายขา
Origin: Ischialtuberosity
Semitendonosis
Origin: Ischialtuberosity
Action: งอปลายขา
Insertion: Medial condyle ของ tibia
Biceps Femoris
Origin: long head: Ischial tuberosity
short head: linea aspera
Insertion: ด้านข้างของกระดูก fibula
Function: งอปลายขา
16.กล้ามเนื้อของก้น
(muscle of the buttock)
Piriformis
Origin: Anterior surface of sacrum และ ilium
Insertion: Greater trochanter ของกระดูก femur
Action: กางและหมุนต้นขาออกด้านนอก
Obturator externus
Origin: ขอบด้านนอกของ obturator foramen
Insertion: Greater trochanter of the femur
Action: หมุนต้นขาออกด้านนอก
Gluteus Minimus
Origin: พื้นด้านนอกของ ilium
Insertion: ด้านข้างต่อ Greater trochanter
ของ femur
Action: กางขาและหมุนต้นขาเข้าด้านใน
Obturator internus
Origin: ขอบของ obturator foramen
Insertion: Greater trochanter ของกระดูก femur
Action: กางขาและหมุนต้นขาออกด้านนอก
Gluteus Medius
Origin: พื้นด้านนอกของ ilium
Insertion: ด้านข้างต่อ Greater trochanter
ของ femur
Action: กางขาและหมุนต้นขาเข้าด้านใน
Inferior gemellus
Origin: Ischial tuberosity
Insertion: Greater thochanter
Action: กางและหมุนต้นขาออกด้านนอก
Gluteus maximus
Insertion: Gluteal tubersity ของกระดูก femur
Action: กางและเหยยีดต้นขา
Origin: iliac crest, Sacrum และ coccyx
Superior gemellus
Origin: Ischial spine
Insertion: Greater thochanter
Action: กางและหมุนต้นขาออกด้านนอก
Tensor fascia lata
Origin: Iliaccrest
Insertion: lateral conduly ของกระดูก tibia
Function: กางและงอต้นขา
15.กล้ามเนื้อของพื้นช่องเชิงกราน
(muscle of the pelvis Diaphragm)
Levator ani and Coccygeus
14.กล้ามเนื้อผนังช่องท้องด้านหลัง
(Posteriorwall)
Quadratus lumborum
Origin: iliac crest, spinous processes of lumbar vertebrae and T11,12
Insertion: Rib ที่ 2 และส่วนของ transverse process ของ กระดูกสันหลังระดับ L1-L4
Action:งอกระดูกสันหลงั ระดับ เอวไปด้านข้าง
Psoas major
Insertion: Lesser trochanter ของกระดูก femur
Action : งอต้นขา
Origin: Iliac fossa ของกระดูก ilium
Iliacus
Origin: Transverse process ของ T12-L5
Insertion: Lesser trochanter ของกระดูก femur
Action:งอลาตวัและต้นขา
13.กล้ามเนื้อช่องท้องทางด้านข้าง
(Lateral wall)
External Oblique
Origin: External surface ของ ribs 5-12
Insertion: แนวกงึ่ กลางลาตัวบริเวณ
linea alba กระดูก pubic และกระดูก ilium
Internal Oblique
Insertion: rib 10-12 และ rectus sheath
Action:กดผนังหน้าท้องเพื่อเพิ่มความดัน
ภายในช่องท้อง
Origin: Iliac crest, Thoracolumbar fascia
and inguinal ligament
Transverse Abdominis
Origin: Costal cartilage 7-12,
Thoracolumbar fascia
Insertion: linea alba, xiphoid process
และ กระดูก pubic
Action: กดผนังหน้าท้อง และช่วยประคับประคองอวัยวะภายในช่องท้อง
6.กล้ามเนื้อของช่วงไหล่
กล่มุที่มีจุดเกาะต้นที่กระดูกแกนกลางของร่างกาย มีจุดเกาะปลายที่กระดูก clavicle
และ scapular ได้แก่
Levator Scapulae
Insertion: Superior angle spine ของ scapula
Action: ยกกระดูก scapula
Origin: Transverse processes of C1-4
Subclavius
Origin: กระดูกซี่โครงอันที่ 1
Insertion: กระดูก Clavicle
Action: ดึงกระดูก Clavicle ลงล่าง
Serratus Anterior
Origin: กระดูกซี่โครงอันท่ี 1-9
Insertion: ขอบในของ scapula
Action: ดึงกระดูก scapulaให้แนบลำตัว
และช่วยในการหายใจ
Pectoralis Minor
Insertion: Coracoid process
ของกระดูก scapula
Action: ดึงกระดูก scapula มาด้านหน้า
ถ้าตรึง กระดูก scapulaให้อยู่กับที่
จะทำหน้าที่ในการ ยกกระดูกซี่โครงอันที่ 3-5 ขึ้น
ช่วยในการหายในเข้าแรงๆ
Origin: Anterior surface of ribs 3 to 5
Trapezius
Origin: External occipital protuberance,
spinous process of C7-T12
Insertion: กระดูก clavicle และ spine ของกระดูก สะบัก และ acromoan process
Action: ยกไหล่และหมุนกระดูก scapula
ขึ้นเวลากางแขน
Rhomboid Major
Origin: Spinousprocess ของ T2-5
Insertion: ขอบด้านในของ scapula
Action:ดึงกระดูก scapula เข้าหาแนวกลางลำตัว
Rhomboid Minor
origin: Spinousprocess of C7-T1
Insertion: ขอบด้านในของ scapula
Action: ดึงกระดูก scapula เข้าหาแนวกลางลำตัว
กลุ่มที่มีจุดเกาะต้นที่กระดูกแกนกลางของร่างกาย หรือกระดูก scapula มีจุดเกาะปลาย
ที่กระดูก humerus ได้แก่
Pectoralis major
Insertion: Intertubercular sulcus
ของกระดูก humerus
Function: หุบและหมุนต้นแขนเข้าทางด้านใน
Origin: clavicle,sternum,costalcartilage 2-6
Subscapularis
Origin: subscapular fossa ของ scapular
Insertion: Lesser tubercle ของ humerus
Function: หุบและหมุนต้นแขนเข้าทางด้านใน
Latissimus Dorsi
Origin: Spinous processes vertebrae, thoracolumbar fascia, crest of ilium
Insertion: Lesser tubercle และ Intertubercular groove of humerus
Action: ดึงต้นแขนเข้าหาลำตัวไปด้านหลัง
Deltoid
Origin: กระดูก clavicle,scapula
Insertion: Deltoid tuberosity
ของกระดูก humerus
Function: กางแขน
Infraspinatus
Insertion: Greater tubercle ของ humerus
Function: หุบและหมุนต้นแขนออกด้านนอก
Origin: Infraspinous fossa ของ scapular
Teres major
Insertion: Intertubercular sulcus
ของกระดูก humerus
Function: หุบและหมุนต้นแขนเข้าด้านใน
Origin: Inferiorangleของกระดูกscapula
Teres minor
Insertion: Greater tubercle of humerus
Origin: ขอบด้านขงของกระดูก scapula
Function: หมุนต้นแขนออกด้านนอก
Supraspinatus
Insertion: Greater tubercle of humerus
Function: ช่วย deltoid ในการกางแขน
Origin: Supraspinous fossa ของ scapular
7.กล้ามเนื้อต้นแขน
(muscle of the forearm)
มีจุดเกาะต้นที่กระดูก humerus
และไปเกาะปลายที่กระดูกปลายแขน ได้แก่
กระดูก radius และ ulnar
Biceps Brachii
Insertion: Radial tuberosity ของกระดูก radius
Function: งอต้นแขนและหงายปลายแขน
Origin: Shorthead:coracoidprocess Long head: top of glenoid cavity
Brachialis
Insertion: coronoid process ของกระดูก ulna
Function: งอต้นแขน
Origin: lower 2/3 of humerus
Tricep brachii
Insertion: Olecranon process ของกระดูก ulna
Function:เหยยีดปลายแขน
Origin: Long head: lower lip of glenoid fossa Medial head: posterior humerus
Lateral head: posterior humerus
Coracobrachialis
Insertion: Middle of humerus
Function: งอต้นแขนและหุบต้นแขน
Origin: Coracoid process ของ scapula
Anconeus
8.กล้ามเนื้อปลายแขน
(muscle of the forearm)
ทำหน้าที่เคลื่อนไหวข้อมือ มือ และนิ้วมือ
กลุ่มที่อยู่ด้านหน้าของปลายแขน (anterior group)
1.1 กล่มุที่อยู่ตื้น (Superficiallayer)
Flexor carpi ulnaris
Origin: Medial Epicondyle ของกระดูก Humerus และ Olecranon process ของกระดูก Ulna
Insertion: Pisiform, hamate และ
ฐานของกระดูก metacarpal ชิ้นที่ 5
Action: งอข้อมือ
Palmaris longus
Origin: Medial Epicondyle ของ กระดูก humerus
Insertion: ส่วนปลายของ flexor retinaculum
และ palmar aponeurosis
Action: งอข้อมือ
Flexor carpi radialis
Origin: Medial Epicondyle
ของกระดูก Humerus
Insertion: ฐานของ Metacarpals ที่ 2
Action: งอข้อมือ
Flexor digitorum superficialis
Insertion: Middle phanges ของนิ้วที่ 2-5
Action: งอ proximal interphalangeal
joint ของนิ้ว ที่ 2-5
Origin: Medial Epicondyle ของ กระดูก Humerus และ Olecranon process
ของกระดูก Ulna
Pronator teres
Origin: Medial Epicondyle
ของกระดูก Humerus
Insertion: ตรงกลางของกระดูก radius
Action: คว่ำมือและงอต้นแขน
กลุ่มที่อยู่ด้านหลัง ของปลายแขน
(posterior group)
1.2 กล่มที่อยู่ลึก(deeplayer)
Supinator
Origin: Lateral epicondyle ของ
humerus และ กระดูก ulna
Insertion: ส่วนต้นของกระดูก radius
Action: หงายฝ่ามือ
Abductor pollicis longus
Origin: ด้านหลงั ของกระดูก ulna กระดูก radius และ interosseous membrane
Insertion: Base ของ 1st metacarpal
Action: กางนิ้วหัวแม่มือ
Extensor indicis
Origin: ทางด้านหน้าของกระดูก ulna
และ interosseous membrane
Insertion:นิ้วที่2
Action:เหยยีดนิ้วชี้และข้อมือ
Extensor pollicis longus
Origin: ด้านหลงั ของกระดูก ulna
และ interosseous membrane
Insertion: Base ของ distal phalanx ของหัวแม่มือ
Action:เหยียดนิ้วหัวแม่มือและเหยียดและกางมือ
Extensor pollicis brevis
Origin: ด้านหลงั ของกระดูก radius
และ interosseous membrane
Insertion: Base ของ 1st phalanx
Action:เหยียดนิ้วหัวแม่มือและเหยียดและกางมือ
กล้ามเนื้อภายในมือและนิ้วมือ
(Intrinsic muscle of the Hand)
กล้ามเนื้อบริเวณด้านนิ้วก้อย
(Hypothenarmuscle)
Abductor digiti minimi
Flexor digiti minimi
Opponens digiti minimi
Palmaris brevis
กล้ามเนื้อบริเวณระหว่างด้านนิ้วโป้งและด้านนิ้วก้อย
(intermediate group)
Abductor pollicis
Lumbricals
Palmar interossei
Dorsal interossei
กล้ามเนื้อบริเวณด้านหัวแม่มือ
(thenarmuscle)
Abductor pollicis bravis
Flexor pollicis brevis
Opponens pollicis
กล้ามเนื้อหลัง (Backmuscle)
Splenius muscle
Eerector spinae
longissimus thoracis
spinalis thoracis
iliocostalis lumborum
Transversospinalis muscle
Semispinalis muscle
Multifidus muscle
Rotatores muscle
Segmental muscle
Interspinalis muscle
Intertransversarii muscle
กล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจ
(muscle of respiration)
Diaphragm
Insertion: ขอบด้านบนของกระดูกซี่โครงอันล่าง
Action: ยกกระดูกซี่โครงและเพิ่มปริมาตร
ช่องอกขณะหายใจเข้า
Origin: ขอบด้านล่างของกระดูกซี่โครงอันบน
External Intercostal
Origin: ขอบด้านล่างของกระดูกซี่โครงอันบน
Insertion: ขอบด้านบนของกระดูกซี่โครงอันล่าง
Action: ยกกระดูกซี่โครง และเพิ่มปริมาตรช่อง
อกขณะ หายใจเข้า
Internal Intercostal
Insertion:ขอบด้านล่างของกระดูกซี่โครงอันบน
และ costal cartilage อันบน
Origin:ขอบด้านบนของกระดูกซี่โครงอันล่าง
และ costal cartilage
Action: พยุงกระดูกซี่โครงแต่ละชิ้นไม่ให้
แยกจากกัน ในขณะ ผ่อนลมหายใจออก
กล้ามเนื้อ ผนังช่องท้องทางด้านหน้า
(Anterior wall)
Rectus Abdominus
Origin: Pubis symphysis และ crest of pubis
Insertion: Xiphoid process และ
cartilages of ribs 5-7
Action: งอลำตัวและกดผนังหน้าท้องเพื่อเพิ่ม
ความดัน ในช่องท้อง