Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ - Coggle Diagram
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ความผิดปกติของการขับถ่ายปัสสาวะ
เกี่ยวกับการสร้างน้ำปัสสาวะ
ภาวะที่มีปัสสาวะปริมาณมากกว่าปกติ (polyuria)
ภาวะที่มีปัสสาวะปริมาณน้อยเกินไป (oliguria) เป็นภาวะที่มีปริมาณน้ำปัสสาวะน้อยกว่า 500 ซีซี/วันหรือน้อยกว่า 30 ซีซี/ชั่วโมง
ไม่มีปัสสาวะ (anuria)ปริมาณปัสสาวะน้อยกว่า 100 มิลลิลิตรใน 24 ชั่วโมง
การถ่ายปัสสาวะบ่อย
ปัสสาวะบ่อยในตอนกลางคืน (nocturia)การปัสสาวะกลางคืนมากกว่า 2 ครั้งขึ้นไป
ปัสสาวะกระปิดกระปอย (polakiuria)
การถ่ายปัสสาวะลำบาก (dysuria)
ปัสสาวะขัด (Painful Urination) ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ (UTI) ซึ่งอาจเป็นผลมาจากการติดเชื้อแบคทีเรีย
การถ่ายปัสสาว ะลำบาก (difficulty urination)เมื่อปวดปัสสาวะเต็มที่แล้วต้องรอนานมากกว่า 5-30 วินาที
ภาวะคั่งของน้ำปัสสาวะ (urinary retention)
มีการคั่งของน ้าปัสสาวะอย่างเฉียบพลัน
เหลือปัสสาวะคงค้างอยู่ในกระเพาะปัสสาวะ (residual urine) เป็นจ้านวนมาก
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ (incontinance of urine)
ปัสสาวะมีหนองปน (pyuria)
สาเหตุจากการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ
โรคต่อมลูกหมากโต : BPH (Benign Prostate Hyperplasia)
พยาธิสรีรภาพ
ระยะแรก ต่อมลูกหมากโตและอุดกั้นเล็กน้อย กระเพาะปัสสาวะหนาตัว ความยืดหยุ่นลดลง
ระยะท้าย การอุดกั้นมากขึ้น และเวลานาน กระเพาะปัสสาวะชดเชยไม่ได้ ผนังบาง
สาเหตุ
dihydrotestosterone เป็นตัวกระตุ้นใหต่อมลูกหมากโต
อาการ
อาการระคายเคืองทางเดินปัสสาวะ (Irritative symptoms)
อาการปัสสาวะบ่อย (Frequency)
อาการปัสสาวะเร่งรีบ (Urgency)
อาการที่ต้องตื่นมาปัสสาวะตอนกลางคืน (Nocturia)
อาการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ (Obstructive symptoms)
ปัสสาวะไม่พุ่ง (Decreased force of urination)
ปัสสาวะออกช้า (Urinary hesitancy)
ลำปัสสาวะสะดุด (Intermittency)
ปัสสาวะหยดตอนท้าย (Postvoid dribbling)
เบ่งปัสสาวะ (Staining)
ปัสสาวะค้าง (Incomplete emptying)
การรักษา
รักษาโดยการใช้ยา
ยาคลายกล้ามเนื้อเรียบในต่อมลูกหมากให้คลายตัวลง (alpha-blockers)
ยาช่วยลดขนาดต่อมลูกหมาก (5-alpha reductase inhibitor)
ยาในกลุ่มสมุนไพร
รักษาโดยการผ่าตัดด้วยการส่องกล้องคว้านต่อมลูกหมาก(TransUrethral Resection ofProstate : TURP)
ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา
ปัสสาวะไม่ออกหลายครั้ง
ปัสสาวะเป็นเลือดซ้ำซาก
ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะซ้ าซาก
เกิดนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
เกิดภาวะไตวายซึ่งส่งผลมาจากต่อมลูกหมากโต
การวินิจฉัย
การส่องกล้องผ่านทางท่อปัสสาวะ
การตรวจคัดกรองหามะเรง็ต่อมลูกหมากมาก (PSA)
ตรวจเพาะเชื้อปัสสาวะ
ตรวจปัสสาวะ เพื่อตรวจดูวา่ มีการอักเสบติดเชื้อในทางเดินปปัสสาวะ
ตรวจร่างกาย โดยรวมไปถึงการตรวจทางทวารหนัก (Digital Rectal Examinat
กรวยไตอักเสบ (Pyelonephritis)
แบ่งเป็น
กรวยไตอักเสบชนิดเฉียบพลัน (Acute Pyelonephritis)
ซึ่งมีอาการแสดงชัดเจน แต่เมื่อได้รับการรักษาจะหายได้ภายใน 2-3สัปดาห์
กรวยไตอักเสบชนิดเรื้อรัง (Chronic pyelonephritis)
ที่ไม่มีอาการแสดงชัดเจน แต่จะเป็น ๆ หาย ๆ เรื้อรัง
สาเหตุ
ติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะตอนบน (Upper urinary tract infection)
อาการของโรคกรวยไตอักเสบ
ปวดบริเวณสีข้างหรือบั้นเอวเฉียบพลัน
ปวดร้าวลงมาบริเวณขาหนีบ
ไข้สูงร่วมกับหนาวสั่น
ปัสสาวะสีขุ่นขาว
การรักษา
อาการไม่รุนแรง
รักษาประคับประคองตามอาการ เช็ดตัวด้วยน้ำอุ่น ดื่มน้ำมากๆ
รับประทานยาปฏิชีวนะ
อาการรุนแรง
แพทย์จะฉีด Gentamicin ครั้งละ40-80 mg.วันละ2-3 ครั้ง ทุก8-12ชม.
หน่วยไตอักเสบเฉียบพลัน (Acute glomerulonephritis/AGN)
อาการแสดงที่สำคัญ
มีเม็ดเลือดแดงและโปรตีนมากผิดปกติในปัสสาวะ (hematuria & proteinuria)
ของเสียไนโตรเจนคั่งในเลือด (azotemia)
การคลั่งของเกลือและน้ำในร่างกาย (edema)
สาเหตุ
ติดเชื้อแบคทีเรียที่ชื่อว่า บีตาฮีโมไลติกสเตรปโต
ค็อกคัส กลุ่มเอ (beta-hemolytic streptococcus group A)
อาการและอาการแสดงทางคลินิก
ปัสสาวะสีน้ำล้างเนือ
ปัสสาวะน้อยกว่าปกติ
บวมที่หน้า หนังตา เท้า และ ท้อง
ปวดศีรษะ มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
ถ้าเป็นรุนแรง อาจมีอาการ หอบเหนื่อย หรือชัก
การรักษา
การตรวจปัสสาวะซึ่งจะพบเม็ดเลือดแดงและพบเม็ดเลือดขาว
การตรวจเลือดอาจพบความผิดปกติ (BUN) และ (creatinine)สูง
ติดเชื้อที่ผิวหนัง ให้ยาปฏิชีวนะ ได้แก่ เพนิซิลลินวี
ถ้ามีอาการชักหรือหอบ ให้ฉีดไดอะซีแพม และ
ฟูโรซีไมด์ เข้าหลอดเลือดด้า
กลุ่มอาการโปรตีนรั่วในปัสสาวะ (Nephrotic Syndrome)
สาเหตุ
กรวยไตเป็นแผล
การกรองไตผิดปกติ
เยื่อบุผิวภายในกรวยไตหนาตัวขึ้น
กลุ่มอาการอะมีลอยโดซิส (Amyloidosis) เกิดขึ้นเมื่อมีการสะสมของสารโปรตีนอะมีลอยด์ในไต (Amyloid)
โรคแพ้ภูมิตัวเอง (SLE)
โรคไตจากเบาหวาน
ลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดไต
การใช้ยาบางชนิด เช่น ยาแก้อักเสบ และยาต้านการติดเชื้อ เป็นต้น
อาการและอาการแสดง
มีอาการบวมบริเวณรอบดวงตา ท้อง แขน ขา ข้อเท้า และเท้า
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
ปัสสาวะเป็นฟอง
ปวดปัสสาวะน้อยมาก
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
ท้องเสีย
การรักษา (รักษาตามอาการ)
ยาขับปัสสาวะ เช่น ฟูโรซีไมด์ สไปโรโนแลคโตน
ยากดภูมิคุ้มกัน ยายาคอร์ติโคสเตียรอยด์ ลดการอักเสบ
ยาลดคอเลสเตอรอล กลุ่มยาสแตติน
-ยาต้านการแข็งตัวของเลือด เช่น เฮพาริน วาฟาริน
ยาควบคุมความดันโลหิต ยากลุ่มแองจิโอเทนซิน 2 รีเซพเตอร์ บล็อกเกอร์ ยาลอซาร์แทน
ภาวะแทรกซ้อน
ความดันโลหิตสูง
ระดับไขมันคอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น
ภาวะลิ่มเลือดในหลอดเลือดอุดตัน
ภาวะขาดสารอาหาร
ภาวะไตวายเฉียบพลัน โรคไตเรื้อรัง และอาจเกิดการติดเชื้อ เป็นต้น
เนื้องอกของกระเพาะปัสสาวะ(BLADDER TUMOR)
สาเหตุ
สารก่อมะเร็ง (CARCINOGEN) ในน้ำปัสสาวะงานทำสี การติด
เชื้อเรื้อรังหรือการระคายเคืองเรื้อรังที่กระเพาะปัสสาวะ
พาราไซด์(SCHISTOSOMIASIS) เช่น SCHISTOSOMA HEMATOBIUM และบุหรี่เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะปนเลือดดดยไม่เจ็บปวด
ปัสสาวะบ่อย ลำบาก
ปัสสาวะไม่ออกเฉียบพลัน
ปวดบั้นเอว
มีเนื้องอกขนาดใหญ่มาก พบต่อมน้ำเหลืองโต
วินิจฉัย
การตรวจปัสสาวะ UAพบเม็ดเลือดแดงและอาจพบเซลล์ของเนื้องอก
การตรวจเลือดCBCพบภาวะซีด
cystoscopyเป็นการตรวจที่สําคัญทีสุด
plain KUB จะเห็นเงาของเนื้องอก
cystography จะได้filling defect of bladder
การรักษา
การรักษาโดยการผ่าตัด
PARTIAL OR SEGMENTAL CYSTECTOMY เป็นการตัดกระเพาะปัสสาวะออกบางส่วน
TOTAL CYSTECTOMY เป็นการตัดกระเพาะปัสสาวะออกทั้งหมด
BILATERAL CUTANEOUS URETEROSTOMY การผ่าตัดเอาหลอดไตมาเปิดที่หน้าท้องทั้งสองข้างเป็นการรักษาแบบ PALLIATIVE
(ELECTROCOAGULATION) เป็นการผ่าตัดโดยใช้ RESECTOSCOPE สอดเข้าไปทางหลอดปัสสาวะ แล้วตัดเนื้องอกในชั้นของ SPERFICIAL ออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ
การรักษารังสี (RADIATION THERAPY)จะได้ใช้ผลดีในรายที่เซลล์เนื้องอกมีการเปลี่ยนแปลงมาก
การใช้เคมีบำบัด (CHEMOTHERAPY) มักใช้กับมะเร็งที่ลุกลามไปที่อื่นแล้ว
การรักษาด้วยเลเซอร์โดยการใช้แสงเลเซอร์ที่ตำแหน่งของเนื้องอก ใช้รักษาเนื้องอกในระดับต้น
ทางเดินปัสสาวะอักเสบ (UTI)
กลไกการติดเชื้อ
ทางกระแสเลือด มักเกิดร่วมกับ การติดเชื้อ Schistosoma
ทางน้ำเหลือง เมื่อความดันในกระเพาะปัสสาวะเพิ่มสูง จะมีผลทำให้
น้ำเหลืองไหลย้อนกลับเข้าไต
แพร่กระจายขึ้นโดยตรง E.coli ที่บริเวณ urethra และ periurethra
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิด UTI
นิ่วหรือการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ
Vesico-ureteral reflux (VUR) ปัสสาวะไหลย้อนกลับ
Incomplete emptying of bladder ปัสสาวะที่ค้างจะเป็นตัวเพาะเชื้อโรคที่และมักเป็น mixed organisms
เบาหวาน
อายุ
พฤติกรรม การใช้ผ้าอนามัย ชนิดสอด (tampon)
Catheterization
การสูบบุหรี่
อาการและอาการแสดง
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะส่วนบน
ปวดบั้นเอว (frank pain)
ตรวจร่างกายจะ พบ costrovertebral tenderness
มีไข้คลื่นไสอาเจียน และอ่อนแรง
มีอาการเช่นเดียวกันกับ lower tract infection
การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง
ปัสสาวะขัด (dysuria)
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่(urgency)
ปัสสาวะถี่ (frequency)
ปวดหน่วงบริเวณท้องน้อย (suprapubic
heaviness)
อาจพบว่ามีเลือดปนออกมาในปัสสาวะได (gross hematuria)
โรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
สาเหตุ
การติดเชื้อแบคทีเรียในระบบทางเดินปัสสาวะ โดยเฉพาะเชื้อE. coli
การมีเพศสัมพันธ์
การใช้ผ้าอนามัยแบบสอด
การเช็ดก้นใน
ลักษณะจากด้านหลังมาทางด้านหน้า
โรคเบาหวาน
อาการ
ปวดปัสสาวะบ่อย
แสบขัดขณะปัสสาวะ
ปัสสาวะมีเลือดปน ปวดท้องน้อย
ปัสสาวะที่ออกมามีปริมาณน้อย สีขุ่น และกลิ่นเหม็นผิดปกติ
การดูแล
ดื่มน้ำในปริมาณที่เหมาะสม 6 -10 แก้ว
ห้ามกลั้นปัสสาวะ
ปัสสาวะหลังมีเพศสัมพันธ์ทุกครั้ง
โรคนิ่วในทางเดินปัสสาวะ (urolithiasis)
สาเหตุ
กรรมพันธุ์
ความผิดปกติของต่อมพาราไทรอยด์
ความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ
การสูญเสียน้ำ
การทานอาหารที่มีกรดยูริกมากกินไป
การอักเสบติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
อาการ
ปัสสาวะลำบากหรือแสบขัด
ปัสสาวะไม่ออกหรือมีเลือดปน
ปวดบริบั้นเอวหรือท้อง ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของนิ่ว
การรักษา
การรับประทานยาละลายนิ่ว เหมาะสำหรับนิ่วชนิดยูริกที่สามารถละลายได้โดยการให้ยา
การสลายนิ่วโดยการใช้คลื่นกระแทก ESWL
•PYELOLITHOTOMY การผ่าตัดกรวยไตเอานิ่วในไตออก
•NEPHROLITHOTOMY การผ่าตัดเข้าไปที่ไตโดยเปิดเข้าทางสีข้างเข้าไปที่ไต ผ่าไตตามยาวเป็น 2 ซีก
•NEPHRECTOMY การผ่าตัดไตออกไปข้างหนึ่ง เมื่อมีการอุดตันอยู่นานจนไตข้างนั้นใช้การไม่ได้แล้ว
•URETEROLITHOTOMY การผ่าตัดเปิดเข้าไปทางสีข้างหรือหน้าท้องส่วนล่างไปถึงหลอดไตเปิดหลอดไตเอานิ่วในหลอดไตออก
•SUPRAPUBIC CYSTOLITHOTOMY การผ่าตัดเหนือหัวเหน่าเข้าไปในกระเพาะปัสสาวะ แล้วเอานิ่วออก
ไตวาย (Kidney Failure หรือ Renal Failure)
ภาวะไตวายเฉียบพลัน (Acute kidney injury)
สาเหตุ
ภาวะที่ทำให้เลือดไปเลี้ยงไตไม่เพียงพอ
ภาวะไตบาดเจ็บโดยตรง เช่น การได้ยาที่มีพิษต่อไต,
การได้รับสารทึบรังสีทางหลอดเลือด,
•ภาวะอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะ
Cause of AKI
Post renal AKI เกิดจากการอุดตันของระบบทางเเดินปัสสาวะที่พบบ่อย ได้แก่การอุดตันที่ระดับกระเพาะปัสสาวะ (Urinary retention)
Pre renal AKI คือไตวายเฉียบพลันที่เกิดจากการที่มีเลือดมาเลี้ยงไต
(renal perfusion) น้อยลง
Intrinsic AKI
Intratubular crystal obstruction และ intratubular protein obstruction มีcrystal มาอุดตัน
Acute tubular necrosis (ATN) เกิดจากพยาธิสภาพrenal tubule เป็นสาเหตุของโรคไตวายเฉียบพลันที่พบบ่อยที่สุด
Acute glomerulonephritis (AGN)ไตวายเฉียบพลันเกิดจากการอกั เสบของ glomeruli
Renal vascular diseases ไตวายเฉียบพลันเกิดจากพยาธิสภาพที่เส้นเลือดไตขนาดเล็กขนาดกลางและขนาดใหญ่
การรักษา
Prerenal AI รักษาโดยการใหสารน้ำและเกลือแร่ทดแทนจนกว่าvolume status เข้าสู่ภาวะปกติ
Post renal AKI รักษาโดยการแก้ไขการอุดตันของระบบ KUB เช่น การใส่สายสวน Foley's catheter
Intrinsic AKI ชนิดที่เป็น Acute Tubular Necrosis:
หลักการรักษาที่สําคัญคือป้องกันไม่ให้ไตสูญเสียการทำงานเพิ่ม
โรคไตเรื้อรัง (Chronic kidney disease, CKD)
สาเหตุ
เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ภาวะติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
เป็นนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
ภูมิแพ้ตัวเอง
ใช้ยาแก้ปวดหรือได้รับยาสเตียรอยด์นานๆ
ปัจจัยเสี่ยง
โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคไตเรื้อรัง
อายุมาก สูบบุหรี่
น้ำหนักเกิน
ภาวะแทรกซ้อน
ปอดอักเสบ ปลานประสาทอักเสบ โรคกระเพาะ
ภาวะต่อมพาราไทรอยด์ทำงานมากไป
ภาวะไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง
ภาวะกระดูกพรุน กระดูกอ่อน
การรักษา
รักษาเฉพาะเจาะจงคุมน้ำตาลในเลือด
ประการรักษา ภาวะอื่นที่พบร่วมด้วย
ชะลอการเสื่อมของไต
การรักษาทดแทนไต