Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบการเรียนการสอน - Coggle Diagram
ระบบการเรียนการสอน
ตัวอย่างระบบการสอน
3.6
ได้กําหนดองค์ประกอบของการเรียนการสอนไว้ 9 ) ประการ ประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ ดังนี้ ,
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
3.7 ระบบการเรียนการสอนของกานเยและบริกส์ (Gagne and Briggs, 1979)
ระบบนี้เป็นระบบที่ครอบคลุมการจัดระบบการเรียนการสอนในวงกว้างตั้งแต่การ เริ่มวิเคราะห์ความต้องการของผู้เรียนเพื่อกําหนดวัตถุประสงค์ไปจนถึงการทดลองปรับปรุง แผนการเรียนการสอนให้ได้ผล เพื่อนําไปเผยแพร่ใช้ในวงกว้างต่อไป
3.8 ระบบการจัดการเรียนการสอนแผนจุฬาฯ โดย ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ได้พัฒนาระบบการสอนแผนจุฬาฯ ขึ้นในปี พ.ศ. 2516 สําหรับ การสอนในห้องเรียนแบบศูนย์การเรียน และได้ทดลองใช้ในการสอน ผลการทดลองพบว่า การสอนโดยใช้ชุดการสอนมีประสิทธิภาพกว่าการสอนด้วยวิธีธรรมดาอย่างมีนัยสําคัญที่ระดับ 101 และนักเรียนที่เรียนมีพัฒนาการทางทัศนคติที่ดีต่อการสอนโดยใช้ชุดการสอนเพิ่มขึ้น
3.5ระบบการเรียนการสอนของคลอสไมเออร์ และริปเปิล (Klausmeier and Ripple) ได้กําหนดองค์ประกอบของ ระบบการเรียนการสอนไว้ 7 ส่วน คือ (1) การกําหนดจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอน (2) การพิจารณาความพร้อมของผู้เรียน (3) การจัดเนื้อหาวิชา วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือ ต่าง ๆ (4) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน (5) การ ดําเนินการสอน (6) การวัดและประเมิน ผลการเรียน
การสอน และ (7) สัมฤทธิ์ผลของนักเรียน
3.4 ระบบการเรียนการสอนของเกอร์ลัคและอีลาย (Gerlach and Ely) ได้จัดขั้นตอนสําคัญ ๆ ของการจัดการเรียนการสอนไว้ 6 ส่วนด้วยกันคือ (1) การกําหนดวัตถุประสงค์ (2) การเลือก เนื้อหาวิชา (3) การประเมินพฤติกรรมก่อนการเรียน (4) การดําเนินการสอนซึ่งครอบคลุม การพิจารณากลวิธีสอน การจัดกลุ่มผู้เรียน
การจัดห้องเรียน การจัดเวลาเรียน และการเลือก แหล่งวิทยาการ (5) การประเมินผลการเรียน และ
(6) การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อป้อนกลับไป ใช้ในการปรับปรุงส่วนต่าง ๆ ของระบบ
-
3.3 ระบบการเรียนรู้ของคาร์รอล (Carroll, 1963)
คาร์รอลมีความเห็นว่าการจัดการเรียนการสอนให้ประสบความสําเร็จนั้น ครู จําเป็นต้องคํานึงถึงความถนัดทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ความสามารถของผู้เรียนในการเข้าใจ ความพยายามในการเรียน เวลาที่ใช้ในการเรียนและคุณภาพในการสอนของครูองค์ประกอบทั้ง 5 นี้เป็นสิ่งสําคัญ
-
3.2 ระบบการเรียนการสอนของเกลเซอร์ (Glaser)
ระบบของเกลเซอร์ (Glaser) มีความคล้ายคลึงกับระบบของไทเลอร์มาก แต่มีองค์ประกอบมากกว่า คือ
(ก) จุดประสงค์ของการสอน (ข) การประเมิน สถานะของผู้เรียนก่อนสอน (ค) การจัดกระบวนการเรียนการสอน
(ง) การประเมินผลการ เรียนการสอน (จ) ข้อมูลป้อนกลับ
-
3.1 ระบบการเรียนการสอนของไทเลอร์ (Robert Tyler)
ไทเลอร์ได้กําหนดองค์ประกอบของระบบการเรียนการสอนที่เรียกว่าไทเลอร์ลูฟ (Tyler Loop) ไว้ 3 ส่วนด้วยกันคือ (ก) จุดมุ่งหมายของการเรียนการสอน (ข) กิจกรรมการเรียนการสอน และ (ค) การประเมินผลการเรียนการสอน ข้อมูลจากการประเมินผลจะ สามารถใช้เป็นข้อมูลป้อนกลับไปยังกิจกรรมการเรียนการสอนและจุดมุ่งหมายของการเรียน
การสอนเพื่อการปรับปรุง
วิธีการเชิงระบบ
-
-
2 กระบวนการ (process) หมายถึง การจัดกระทำกับองค์ประกอบต่าง ๆ เพื่อให้เกิดผลผลิต ตามจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้
-
4 กลไกลควบคุม (control) หมายถึง วิธีการที่ใช้เพื่อตรวจสอบกระบวนการให้ดำเนินการอย่างมี ประสิทธิภาพกระบวนการ ตัวป้อน ผลผลิต
5 ข้อมูลป้อนกลับ (feedback) หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของผลผลิตและ จุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้ ซึ่งใช้เป็นข้อมูลป้อนกลับไปสู่การปรับปรุงกระบวนการและตัวป้อน
-
สรุป
ระบบมีความสําคัญในการช่วยให้การดําเนินงานต่าง ๆ สัมฤทธิ์ผลตามเป้าหมาย เนื่องจากระบบใดระบบหนึ่ง หรือการจัดระบบใดระบบหนึ่ง จะต้องประกอบไปด้วย
- องค์ประกอบสําคัญของระบบนั้น
- ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบนั้น
- เป้าหมายหรือจุดหมายของระบบนั้น
-
-
-
-
-