Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลสตรีที่ได้รับการช่วยคลอด ด้วยสูติศาสตร์หัตถการ,…
บทที่ 7 การพยาบาลสตรีที่ได้รับการช่วยคลอด
ด้วยสูติศาสตร์หัตถการ
หัตถการช่วยคลอดด้วยคีม
(forceps extraction delivery)
หมายถึง การใช้คีมจับที่ศีรษะทารกให้กระชับ
และเหมาะสมเพื่อช่วยคลอดศีรษะทารกโดย
ไม่ทำให้เกิดการบาดเจ็บต่อผู้คลอดและทารก
:check: ส่วนประกอบของคีม (forceps)
Blade
Shank
Lock
Handles
Transverse process
ข้อบ่งชี้ด้านผู้คลอด
ไม่มีแรงเบ่งจากอาการอ่อนหล้า
ได้รับยาบรรเทาอาการปวด
มีภาวะแทรกซ้อนหากมีการเบ่งคลอด
เช่น โรคหัวใจ PIH
ข้อบ่งชี้ด้านทารก
Abnormal FHS
ศีรษะทารกอยู่ในท่าผิดปกติ เช่น occiput transverse
ใช้คลอดศีรษะทารกท่าก้น
:red_cross: ห้ามในรายที่ CPD/เนื้องอกในอุ้งเชิงกราน
ชนิดของคีม
1.Simpson forceps เป็นชนิดมีช่อง
ทำให้จับกับศีรษะทารกได้กระชับกว่า
Tucker-Mclean forceps
ลักษณะ cephalic curve มีมากกว่าเหมาะกับ
ศีรษะทารกที่ กลม หรือไม่มี molding
Piper forceps
ใช้คลอดศีรษะทารกที่เป็นท่าก้น
Kielland forceps
น้ำหนักเบา และ pelvic curve น้อย
เหมาะสำหรับการหมุนศีรษะทารก
ชนิดของการช่วยคลอดด้วยคีม
Outlet forceps
ใช้เมื่อเห็นหนังศีรษะทารกทางช่องคลอด
โดยไม่ต้องแหวก labia
Low forceps
ใช้เมื่อส่วนต่ำสุดของศีรษะทารกอยู่ระดับ +2
หรือมากกว่า แต่ไม่ถึง pelvis floor
Mid Forceps
ใช้เมื่อศีรษะทารกเข้าสู่ช่องเชิงกราน
High forceps
ไม่นิยมใช้เนื่องจากอันตรายต่อทารกมาก
ข้อบ่งชี้การช่วยคลอดด้วยคีม
:check: ทารกอยู่ในท่าศีรษะ
:check: ช่วยคลอดศีรษะทารกท่าก้น
:check: ปากมดลูกเปิดหมด (cervical fully dilate)
การพยาบาลก่อนทำ
อธิบายให้ทราบเกี่ยวกับแผนการช่วยคลอด
จัดท่าผู้คลอดท่า Lithotomy
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ภายนอก
เตรียมอุปกรณ์ช่วยคลอด ได้แก่ forcep,
สารหล่อลื่น
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ +
ยากระตุ้นการหดรัดตัวมดลูก
การพยาบาลขณะทำ
ฟัง FHS ทุก 5 นาที / On EFM
ขณะแพทย์ใส่คีม ให้ผู้คลอดผ่อนคลายไม่เกร็ง
ประเมิน V/S เป็นระยะ
ให้ผู้คลอดหยุดเบ่งเมื่อศีรษะทารกมาตุง
ที่ฝีเย็บและแพทย์กำลังตัดฝีเย็บ
การพยาบาลหลังทำ
ประเมิน V/S, การหดรดตัวของมดลูก
แนะนำการคลึงมดลูก
ดูแลการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัว
ของมดลูกต่ออย่างน้อย 2 ชั่วโมงหลังคลอด
หัตถการช่วยคลอดด้วย
เครื่องดูดสุญญากาศ
Vacuum Extraction delivery
หมายถึง การทำคลอดโดยใช้
เครื่องดูดสุญญากาศ โดยผู้ทำคลอด
ออกแรงดึงบนถ้วยที่เกาะติดกับหนังศีรษะ
ทารกด้วยระบบสุญญากาศ เป็นการเสริม
แรงเบ่งผู้คลอด
:check: ส่วนประกอบ
แผ่นโลหะกลมแบนและโซ่
ด้ามสำหรับดึง
ท่อสายยาง
ขวดสุญญากาศ
เครื่องดูดสุญญากาศ มี 2 แบบ
5.1 hand or foot pump
5.2 Electric pump
ข้อบ่งชี้
ผู้คลอดไม่มีแรงเบ่งเพียงพอ
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ศีรษะทารกอยู่ในท่าผิดปกติ (OP)
:red_cross: ภาวะ CPD,ส่วนนำทารกอยู่สูง
ข้อพิจารณาก่อนทำ
ถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว
กระเพาะปัสสาวะไม่เต็ม
ไม่มีก้อนเนื้องอกขวางช่องทางคลอด
หลักการและวิธีการช่วยคลอด
ด้วยเครื่องดูดสุญญากาศ
การเตรียมผู้คลอด
การใส่ถ้วยสุญญากาศ
ระยะเวลาในการลดความดัน
ค่อยๆ ลดความดันลง 0.1 กก./ตร.ซม.
ทุก 1 นาที หรือ 0.2 กก./ตร.ซม. ทุก 2 นาที
จนถึง 0.6 – 0.8 กก./ตร.ซม.
จังหวะ ระยะเวลาและทิศทางในการดึง
การตัดฝีเย็บ
+++ ระยะเวลาการดึงไม่ควรเกิน 30 นาที
นานกว่านี้อาจเกิดอันตรายต่อศีรษะทารก
การพยาบาลหลังทำ
ประเมิน V/S ,การหดรดตัวของมดลูก
แนะนำการคลึงมดลูก ไม่กลั้นปัสสาวะ
ดูแลการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัว
ของมดลูกต่ออย่างน้อย 2 ชั่วโมงหลังคลอด
การพยาบาลก่อนทำ
จัดท่าผู้คลอดท่า Lithotomy
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ภายนอก
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ + ยากระตุ้น
การหดรัดตัวมดลูก
การพยาบาลขณะทำ
ฟัง FHS ทุก 5 นาที / On EFM
ขณะแพทย์ใส่เครื่องดูดสุญญากาศ
ให้ผู้คลอดผ่อนคลายไม่เกร็ง
(ให้ผู้คลอดหายใจเข้าออกลึกๆ)
การผ่าตัดคลอด
(cesaean section)
หมายถึง การผ่าตัดเพื่อคลอด
ทารกออกทางรอยผ่าที่หน้าท้อง
และรอยผ่าที่ผนังมดลูก
ข้อบ่งชี้
:check: การคลอดติดขัด
:check: การคลอดไม่ก้าวหน้า
:check: รกเกาะต่ำ
:check: ทารกมีภาวะ fetal destress
:red_cross: ข้อห้ามทารกตายในครรภ์
เว้น มีข้อบ่งชี้ทางมารดา เช่น ภาวะ PPH
ชนิดของการผ่าตัดคลอด
การลงมีดผ่าตัดที่ผนังหน้าท้อง
หรือผิวหนัง (skin incision)
1.1 การลงมีดในแนวตั้งกลางตัว
(vertical midline incision)
1.2 การลงมีดในแนวขวาง
(transverse incision)
การลงมีดผ่าตัดที่ผนังมดลูก
(uterine incision)
2.1. การผ่าตัดที่บริเวณส่วนล่างของมดลูก
(low segment cesarean section)
2.2 การผ่าตัดที่บริเวณส่วนบน
ของมดลูกตามแนวตั้ง
(classical cesarean section)
การพยาบาลก่อนทำ
:check:เตรียมด้านร่างกาย
NPO หลังเที่ยงคืน / ก่อนผ่าตัด
อย่างน้อย 6 – 8 ชม.
เจาะ G/M เตรียมเลือดอย่างน้อย 2 ยูนิต
ให้ IV fluid
:check: เตรียมด้านจิตใจ
• อธิบายให้ทราบเกี่ยวกับแผนการรักษา
สาเหตุของการผ่าตัดคลอด
• เปิดโอกาสให้ผู้คลอดได้ซักถาม
และระบายความรู้สึก
การพยาบาลขณะทำ
ประเมิน V/S ผู้คลอดทุก 5 – 15 นาที
ประเมินและบันทึกปริมาณปัสสาวะ
ควรออก > 30 ซีซี/ชั่วโมง
หลังทารกคลอดครบดูให้ยากระตุ้น
การหดรัดตัวของมดลูก
การพยาบาลหลังทำ
ประเมิน V/S ผู้คลอดทุก 15 นาที
ใน 1 ชม.แรก ทุก 30 นาที ใน 1 ชั่วโมงที่
สอง หลังจากนั้นประเมินทุก 1 ชม. จนอาการคงที่
ประเมินแผลผ่าตัดดูเลือดซึมบริเวณ
ที่ก็อซปิดแผลไว้หรือเปล่า
แนะนำใช้มือประคองแผลเวลาลุกนั่ง ไอ หรือ
จาม ให้นอนท่า semi-fowler (กรณีไม่มีข้อห้าม)
การหมุนเปลี่ยนท่าทารก
(version)
หมายถึง การทำเมื่อกรณีเด็กเป็นท่าก้น
และแพทย์ประเมินอย่างละเอียด
แล้วว่าช่องเชิงกรานและศีรษะ
ทารกไม่มีการผิดสัดส่วน
:red_flag: 1. การหมุนเปลี่ยนท่าทารกจากภายนอก
(externalcephalic version)
กรณีอายุครรภ์มากกว่า 37 สัปดาห์
หรือครรภ์เดี่ยวที่ทารกอยู่ในท่าก้น/ท่าขวาง
:red_cross:ครรภ์แฝด
:red_cross: สตรีมีครรภ์ที่อ้วนมาก
:red_cross:Abnormal FHS
:red_cross:Uteroplacenta insufficiency
การพยาบาลก่อนทำ
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์ทราบเกี่ยวกับแผนการรักษา
ให้ NPO อย่างน้อย 8 ชม. ก่อนทำ
ดูแลการได้รับการ ultrasound เพื่อยืนยันท่า
และส่วนนำทารก + NST
ดูแลให้ IV fluid และยายับยั้งการหดรัดตัว
ของมดลูกตามแผนการรักษา
การพยาบาลขณะทำ
ประเมิน FHS ทารกและอาการเจ็บปวด
ขณะทำการหมุนเปลี่ยนท่า
2.อยู่เป็นเพื่อน
การพยาบาลหลังทำ
ประเมิน FHS ต่อไปอีกอย่างน้อย 30 นาที
ดูแลให้ได้รับการตรวจ U/S
ตรวจ NST
ดูแลให้ได้รับ Rh immunoglobulin
:red_flag: 2. การหมุนเปลี่ยนท่าทารก
จากภายใน (internal podalic version)
ใช้ในกรณี การคลอดแฝดคนที่สอง
(ท่าขวางหรือท่าศีรษะ)
หรือทารกท่าขวางที่ปากมดลูกเปิดหมดแล้ว
:red_cross:เคยผ่าตัดบริเวณมดลูก
:red_cross:ส่วนนำทารกเคลื่อนลงมาต่ำมาก
การพยาบาลก่อนทำ
เช่นเดียวกับการหมุนเปลี่ยนท่าภายนอก
แต่ ไม่ NPO ผู้คลอด
การพยาบาลหลังทำ
ประเมิน FHS และ V/S ผู้คลอดเป็นระยะๆ
ดูแลช่วยเหลือการชวยคลอดท่าก้น
การพยาบาลขณะทำ
อยู่เป็นเพื่อน ให้กำลังใจ + ประเมิน FHS
การล้วงรก
(manual removal of placenta)
สาเหตุ
ภาวะ cervical clamp
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ภาวะรกลอกตัวช้า
ข้อบ่งชี้
ภายหลังทารกคลอดครบ ระยะที่ 3
นานกว่า 30 นาที
มีเลือดออกมากกว่า 400 มิลลิลิตร
สายสะดือขาดและหดกลับเข้าไป
ในช่องคลอด
:red_cross: ผู้คลอดอยู่ในภาวะช็อค
ผลกระทบ
มดลูกปลิ้น
PPH
มีการฉีกขาดของ fornix
การพยาบาลก่อนทำ
ดูแลการได้รับยาระงับความรู้สึกแบบทั่วไป
จัดท่า Lithotomy
ดูแลการได้รับ IV fluid
การพยาบาลขณะทำ
ประเมิน V/S ทุก 5 นาที
ประเมิน contraction
ดูแลการได้รับยากระตุ้น
การหดรัดตัวของมดลูก
การพยาบาลหลังทำ
ประเมิน V/S , contraction , bladder
แนะนำการคลึงมดลูก ไม่กลั้นปัสสาวะ
แนะนำการเปลี่ยนผ้าอนามัย
และการทำความสะอาด
ภายหลังการขับถ่าย
การคลอดทารกท่าก้น
(Breech delivery)
1) กลไกการคลอดก้น
2) กลไกการคลอดไหล่
3) กลไกการคลอดศีรษะ
วิธีการคลอดท่าก้น
Spontaneous breech delivery
Breech assisting delivery
Total breech extraction
การพยาบาลขณะทำ
ประเมิน FHS ทุก 5 นาที / On EFM
แนะนำผู้คลอดผ่อนคลายไม่เกร็ง
ประเมิน Contraction และกระตุ้นเบ่ง
เมื่อมดลูกหดรัดตัว
การพยาบาลหลังทำ
ประเมิน V/S ,การหดรัดตัวของมดลูก
แนะนำการคลึงมดลูกแก่มารดา
ให้มารดาสังเกตเลือดที่ออกทางช่องคลอด
การพยาบาลก่อนทำ
จัดท่าผู้คลอด Lithotomy
ปูผ้าสะอาดปราศจากเชื้อ
สวนปัสสาวะทิ้ง
อุปกรณ์ CPR ทารก เครื่องช่วยหายใจ
ให้ IV fluid ตามแผนการรักษา
การชักนำการคลอด
(Induction of labor)
หมายถึง การทำให้เกิดการเจ็บครรภ์
คลอดโดยเทคนิคต่างๆในขณะ
ที่ยังไม่มีการเจ็บครรภ์คลอดเกิด
ขึ้นเองตามธรรมชาติ
:check:Induction of labor
:check:Augmentation of labor
:check:Uterine tachysystole
:check:Uterine hypertonus
:check:Uterine hyperstimulation
ข้อบ่งชี้
:red_flag: Postterm pregnancy
:red_flag: Premature rupture of membrane
ข้อห้าม
Vasa :red_flag: previa
:red_flag: Placenta previa
การพยาบาล
ให้ยาหดรัดตัว
ประเมิน Contraction
หลังได้รับยา 15 นาที ต่อไป
ทุก 30 นาที
ปรับเพิ่มหยดทุก 15 – 30 นาที
ฟัง FHS ทุก 30 นาที
5.ดูแลใกล้ชิด หากได้รับยา
เกิน 24 ชม. ให้สังเกต Bandl’s ring
ความดันโลหิตต่ำ
ดูแลการได้รับยาต่อเนื่อง
อย่างน้อย 2 ชั่วโมง
นางสาวสุธิตา หมื่นนันทะ เลขที่ 140 รหัสนักศึกษา 61120301144 ชั้นปีที่ 4