Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๕๐ - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๕๐
สาระสำคัญของ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ 2550
ขยายมิติทางสุขภาพให้กว้างขึ้น
คุ้มครองสิทธิของประชาชน 8 ด้าน
มี คสช. เป็นกลไกใหม่ในการขับเคลื่อนระบบสุขภาพ
เกิด สช.เป็นหน่วยงานธุรการของ คสช.
มีธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
สร้างการมีส่วนร่วมผ่านสมัชชาสุขภาพ
คสช.
หมายถึง คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
สช.
หมายถึง สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
ระบบสุขภาพ
หมายความว่า ระบบความสัมพันธ์ทั้ง มวลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ
บริการสาธารณสุข
หมายความว่า บริการต่างๆ อันเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรคและปัจจัยที่คุกคามสุขภาพ การตรวจวินิจฉัยและ บ าบัดสภาวะความเจ็บป่วยและการฟื้นฟูสมรรถภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน
สมัชชาสุขภาพ
หมายความว่า กระบวนการที่ให้ประชาชนและหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องได้ร่วมแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และเรียนรู้อย่างสมานฉันท์ เพื่อนำไปสู่การเสนอแนะนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพหรือความมีสุขภาพของประชาชนโดยจัดให้มีการประชุมอย่างเป็นระบบและอย่างมีส่วนร่วม
การให้ความยินยอมในการรักษาพยาบาล ของประเทศไทย
“ความยินยอมอันบริสุทธิ์ของผู้เสียหายให้ผู้ใดกระทำการที่กฎหมายบัญญัติว่าเป็นความผิด ถ้าความผิดนั้นไม่ขัดต่อ ความสำนึกในศีลธรรมอันดีและยินยอมอยู่จนถึงขณะกระทำการอันกฎหมายบัญญัติว่าเป็นความผิดนั้นแล้วความยินยอม นั้นย่อมเป็นข้อยกเว้นมิให้การกระทำนั้นเป็นความผิดขึ้นได้”
หลักกฎหมายในเรื่องของการให้ความยินยอม
หลักเสรีนิยม คือ มีความสมบูรณ์/อิสระ แต่ไม่การท าให้ผู้อื่นเดือดร้อน
หลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
หลักประโยชน์นิยมหรือหลักการทำความดีคือ การกระทำที่เปี่ยมด้วยความเมตตา ความมีคุณธรรม
หลักการให้ความยินยอม
เกิดขึ้นโดยผู้มีอำนาจให้ความยินยอมตามกฎหมาย
ไม่ถูกบังคับหรือหลอกลวง
ความยินยอมของผู้ป่วยเมื่อให้ไปแล้วอาจยกเลิกหรือถอนได้เสมอไม่จำกัดระยะเวลา
ความยินยอมต้องอยู่ภายใต้กรอบของความยินยอม