Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความเป็นราชภัฏ เชียงใหม่ - Coggle Diagram
ความเป็นราชภัฏ เชียงใหม่
ราชภัฏเชียงใหม่ภายใต้วิถีล้านนา
ประวัติศาสตร์ล้านนา
ดินแดนล้านนาอาณาบริเวณที่ประกอบด้วยเมืองกลุ่มหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ทางเครือญาติทางวัฒนธรรมในอดีตโบราณไม่มีอาณาเขตที่ชัดเจนเคยมีอิทธิพลแผ่ออกไปอย่างกว้างขวางถึงดินแดนเชียงรุ่ง สิบสองปันนาและรัฐฉานตอนใต้ ซึ่งแบ่งตามภูมิศาสตร์ประวัติศาสตร์ออกเป็น 2 กลุ่ม
กลุ่มเมืองล้านนาตะวันออก เช่น แพร่ และ น่าน เป็นรัฐอิสระมีราชวงค์เป็นของตนเอง และมีความใกล้ชิดกับอาณาจักรสุโขทัย
กลุ่มเมืองล้านนาตะวันตก เช่น เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงราย พะเยา มีความสัมพันธ์ร่วมกันตั้งแต่สมัยราชวงค์มังรายตอนต้น
การก่อสร้างอาณาจักรล้านนา
ดินแดนล้านนา พุทธศตวรรษที่19 เมื่อสถาปนาครล้านนาเชียงใหม่ ปี 1839 นับจนถึงปัจจุบัน เชียงใหม่มีอายุมากกว่า700ปี ประวัติศาสตร์ล้านนาแบ่งได้ดังนี้
สมัยรัฐอาณาจักร ปี 1804-2101
สมัยพม่าปกครอง ปี 2101-2317
สมัยแว้นแคว้น-นครรัฐ
สมัยเป็นเมืองประเทศราชของไทย ปี2317-2427
กลุ่มชาติพันธุ์ล้านนา
ลัวะ
ไทใหญ่
ไทลื้อ
ไทยวน
ไทเขิน
ล้านนาสมัยรัฐอาณาจักร
ดินแดนล้านนาได้พัฒนาการปกครองสู่รัฐแบบอาณาจักร มีเชียงใหม่เป็นศูนย์กลาง
ก่อตั้งอาณาจักรล้านนาเป็นผลมาจากการรวมแคว้นหริภุญไชยเข้ากับแคว้นโยนในสมัยของพระยาเมืองรายปฐมกษัตริย์แล้วสถาปนาเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางมีเป้าหมายเพื่อสถาบันทางการเมือง การปกครองเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
สมัยพม่าปกครอง
พม่าเป็นเมืองขึ้นตั้งแต่สมัยพระเจ้าบุเรงนอง ปี 2101-2317 ช่วงเวลานั้นพม่าปกครองแต่จะมีบางช่วงที่อยุธยายกทัพขึ้นมายึดเชียงใหม่ได้
ในช่วงพม่าปกครองเป็นเวลาที่ยาวนานมากถึง 216 ปี นโยบายพม่าปกครองเมืองล้านนาได้ปรับเปลี่ยนตามเงื่อนไขของการเมืองและการปรับเปลี่ยนสภาพการเมืองในท้องถิ่น
ล้านนาเป็นเมืองประเทศราชของไทย
หลังจากเสร็จสงครามขับไล่พม่าออกจากเชียงใหม่ปี 2317 แล้วพระเจ้าตากสินทรงตอบแทนความดีความชอบโปรดเกล้าฯ และได้แต่งตั้ง''พระญาจ่าบ้าน"เป็นพระยาวิเชียรปราการเมืองเชียงใหม่และพระเจ้ากาวิละครองเมืองลำปาง
เมื่อพระยาจ่าบ้านเสียชีวิตลงพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาดโลกมหาราชจึงทรงโปรดเกล้าฯแต่งตั้งพระเจ้ากาวิละเป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่แทน จึงมีความเจริญรุ่งเรืองมั่นคงและเป็นศูนย์กลางของล้านนาที่เข็มแข็งจากสมัยพระเจ้ากาวิละก็มีเจ้าเมืองปกครองต่อมารวมทั้งสิ้นเก้าองค์
การกำเนิดล้านนา
สร้างเมืองเชียงใหม่ขึ้นเมื่อปี 1839 จนถึงปัจจุบัน ได้ 724 ปี พยามังรายทำสงครามแผ่ราชอาณาจักรเพื่อรวมไทยภาคเหนือเข้าด้วยกัน พ่อขุนรามคำแหงมหาราชผู้เป็นพระสหายก็เป็นอาณาจักรสุโขทัยขึ้นทางภาคกลางและมีอาณาเขตติดกันทั้งสองพระองค์จึงมิได้รุกรานซึ่งกันและกัน
พระเจ้ามังรายครองเมืองกุมกามอยุ่จนถึงปี 1834 วันหนึ่งพระองค์เสด็จประพาสล่าสัตว์ทางเหนือไปถึงดอยอ้อยช้างหรือดอยสุเทพทรงประทับแรมอยู่ตำบลบ้านแหนได้สามเพลาพระองค์ทรงทอดพระเนตรเห็นสถานที่ชัยภูมิตรงนั้นเป็นที่ทำเลเหมาะสำหรับการสร้างเมืองอาศัยอยู่
ประวัติความเป็นมาของราชภัฏเชียงใหม่
ความเป็นมา
ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2467 ในตอนแรกนั้นเป็นโรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมประจำมณฑล ซึ่งมีนายชื่น สิโรรสเป็นครูใหญ่จึงได้ลงมือปลูกสร้างอาคารหลังหนึ่งเพื่อเป็นห้องเรียนและหอนอน
ปลุกสร้างเสร็จเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2467 แต่ก็ได้เปิดรับนักเรียนเข้าอยุ่ประจำตามกำหนดคือวันที่ 5 พฤษภาคม 2467 เริ่มมีการสอนวันที่ 19 พฤษภาคม 2467 นักเรียนรุ่นแรกตามหลักฐานแล้วมีอยู่ 28 คน มาจากจังหวัดเชียงราย 6 คน จังหวัดลำพูน 1 คน แม่ฮ่องสอน 1 เชียงใหม่ 16 คน
ค่านิยม
M Morol สร้างสถาบันดีสู่สังคมไทยด้วยอุดมการณ์แห่งศีลธรรม
U Unity ด้วยจิตอาสาพัฒนาสถาบันเป็นหลักหนึ่งเดียว
R Royal น้อมนำพระราดำริมาปฏิบัติเพื่อพัฒนาสังคม
C commumity สถาบันอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่นให้ก้าวไกล
วิทยาเขต / ศูนย์การจัดการศึกษา
ศูนย์เเม่ริม ได้ทำการปรับปรุงเเละก่อสร้างหน่วยงานของมหาวิทยาลัย เพื่อให้เกิดความพร้อมในการย้ายการบรริหารเเละการจัดการศึกษาส่วนใหญ่มาตั้งที่เเม่ริม
วิทยาเขตเเม่ฮ่องสอน มี 3 หน่วยงาน
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
วิทยาเขตแม่ฮ่องสอน
มีหลักสูตรการเรียนการสอนทั้งหมด 7 หลักสูตร
ครุศาสตรบัณฑิตสาขาการศึกษาปฐมวัย
ครุศาสตรบัณฑิตสาขาวิการประถมศึกษา
ศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
ศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
บริหารธุรกิจบัณฑิตสาขาวิชาการจัดการค้าชายแดน
วิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สาธารณสุขศาสตรบัณฑิตสาขาวิชกาสาธรณสุขชุมชน
อัตลักษณ์
เจตนารมณ์ในการจัดตั้งมหาลัย บัณฑิตมีทักษะชีวิต จิตสาธารณะและสู้งาน
สีของตราสัญลักษณ์
สีน้ำเงิน แทนสถาบันพระมหากษัตริย์
สีเขียว แทนแหล่งที่ตั้งของสถาบัน 36แห่งที่อยู่ในธรรมชาติที่สวยงาม
สีส้ม แทนความรุ่งเรืองทางศิลปะวัฒนธรรมท้องถิ่น
สีขาว แทนความคิดอันบริสุทธิ์ของนักปราชญแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การพัฒนาของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ปี 2466 ใช้ชื่อโรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมประจำมณฑลพายัพ
ปี 2470 ใช้ชื่อโรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรมณฑลพายัพ
ปี 2484 ใช้ชื่อโรงเรียนฝึกหัดครูมูลจังหวัดเชียงใหม่
ปี 2490 ใช้ชื่อโรงเรียนฝึกหัดครูเชียงใหม่
ปี 2503 ใช้ชื่อวิทยาลัยครูเชียงใหม่
ปี 2535 ใช้ชื่อสถาบันราชภัฏเชียงใหม่
ปี 2547 ใช้ชื่อ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ กับสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
อาณาจักรสุโขทัย (พ.ศ.1781-1981)
ลักษณะการปกครอง
พ่อปกครองลูก
เศรษฐกิจของอาณาจักรสุโขทัยเป็นเศรษฐกิจการเกษตร
โครงสร้างสังคม
ชนชั้นปกครอง
กษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการพระภิกษุสงฆ์
ชนชั้นที่ถูกปกครอง
สามัญชนหรือไพร่ และทาส
อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ.1893-2310) 417 ปี
ปัจจัยที่ทำให้กรุงศรีอยุธยาเรืองอำนาจ
ตั้งอยู่ใกล้เมืองท่าชายฝั่งทะเล ทำให้การค้าได้สะดวก
มีแม่น้ำไหลผ่าน ทำให้เพราะปลูกข้าวได้ดี
การที่จักรวรรดิเขมรและอาณาจักรสุโขทัยตกต่ำลง
โครงสร้างเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
การปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้นลัทธิเทวสิทธิ์ มโนทัศน์ธรรมราชาจากสุโขทัย ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกันข้าราชการบรีพารเป็นสื่อกลางระหว่างกษัตริย์ และประช่ชน
พระเจ้าตากสินโดยการช่วยเหลือของ -สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก -เจ้าพระยาสุรสีห์ สามารถผนึกรัฐไทยขึ้นเป็นเอกภาพอีกครั้งหนึ่งกรุงศรีธนบุรีเป็นราชธานี
มีการแยกกิจการทหารออกจากกิจการพลเรือน
สมุหนายก เป็นหัวหน้าราชการฝ่ายพลเรือน
เป็นหัวหน้าราชการฝ่ายทหาร
สมัยกรุงรัตโกสินทร์ตอนต้น
รัชกา]ที่1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
การปกครองและการบริหาร ฟื้นฟูสถาบันกษัตริย์ การจัดองค์การทางสังคม ระบบศักดินา สักเลกไพร่ ด้านศาสนา มีการสังคายนาะรพไตรปิฎก ด้านเศรษฐกิจ การค้ากับจีน
รัชกาลที่2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
เศรษฐกิจเงินตราและการค้าขายตัว ธุรกิจการค้าของราชสำนักขาดทุน ในขณะที่การค้าส่วนพระองค์ ทำกำไรอย่างงาม
รัชกาลที่ 8 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล
ยุติความขัดแย้งระหว่างชาวไทยและชาวไทยเชื้อสายจีน พระราชปราปรารภในการผลิตแพทย์เพิ่มขึ้น
รัชกาลที่3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
ยุบเลิกการค้าของหลวง และเก็บภาษี (38 ชนิด) มีระบบราชการเป็นกลไกการเก็บภาษี (ระบบเจ้าภาษีนายอากร)ชาวจีน
รัชกาลที่4 พระบาทสมเด็จจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
นโยบายเปิดประตู-สนธิสัญญาปี พ.ศ.2398 (สนธิสัญญาเบาวริ่ง
รัชกาลที่5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
การสร้างรัฐชาติแบบใหม่ การรวมศูนย์อำนาจให้รัฐบาลกลางและการสร้างความเป็นอันเดียวกันของคนในรัฐชาติ ยกเลิกระบบกินเมือง การปกครองแบบเทศาภิบาล มณฑล จังหวัด มีการปฎิรูปการบริหารราชการแผ่นดิน กระทรวง
รัชกาลที่6 สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ได้ทรงพยายามที่จะทดลองการปกครองแบบประชาธิปไตยดุสิตธานี มีเสรีภาพทางด้านความคิด บรรยากาศการเมืองภายนอก ส่งผลต่อความคิดของคนไทย สร้างความรู้สึกเรื่องชาตินิยม เกิดกบฎ ร.ศ. 130 เพื่อทำการเปลี่ยนแปลง แต่ไม่สบความสำเร็จ ประเทศสยามเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
รัชกาลที่10 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนยากไร้ สร้างโรงบาลสมเด็จพระยุพราช
รัชกาลที่ 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
มีความเสียสละของพระองค์ต่อการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง จากระบอบสมบรูณาญาสิทธิราชย์ไปเป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
รัชกาลที่9 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 4810 โครงการ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง