Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดต่อสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ - Coggle Diagram
การติดต่อสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
ปัญหาการสื่อสาร
1.เกิดจากตัวเอง------การตีความ
การรับรู้ (Perception)
• ประสบการณ์ในอดีต (Past Experience)
• สังคมสนับสนุน (Social Support)
• บุคคลที่ 8 แตกต่างกัน (Individual differences
2.ความเครียดจากงาน (Work Stressor) ขาดการสื่อสาร
2.1ภารกิจที่ หนักเกินไป (Excessive Load work)
2.2ขาดการวางแผนตารางการทํางาน (Undesirables work schedules) สื่อสารไม่ชัดเจน
2.3 บทบาทผู้สร้างความเครียด ความขัดแย้งและความคุมเครือ (Role stressors, conflict And ambiguity)ขาดการติดต่อสื่อสาร
2.4ความปลอดภัยในสายงานอาชีพ (Career security) ป้องกันตัวเองไม่กล้าสื่อสาร
2.5ขาดความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล กับงาน (Poor Interpersonal relationships at work) ขาดสายการบัง คับบัญ ชาเพื่อมีการติดต่อสื่อสาร
2.6 ไม่มีความสุขกับเงื่อนไขของงาน (Unpleasant job condition)
ความเครียดเกิดจากครอบครัวต่อการสื่อสาร
1.คุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่
2.การเงิน
3.สุขภาพ
ปัญหาขาดการสื่อสารเกิดจากความขัดแย้ง
ความขัดแย้งเกิดขึ้นได้ เมื่อมีความคิดเห็นที่ไม่ลงรอยกัน ด้วยเรื่องในเชิงเนื้อหาสาระหรือเชิงอารมณ์ ซึ่งก่อให้เกิดการกระทบกระทั่งกันได้ ระหว่างบุคคลหรือกลุ่ม
ความเครียดจากงาน (Work Stressor)
1.ความปลอดภัยในสายงานอาชีพ (Career security)
2.ขาดความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลกับงาน (Poor Interpersonal relationships at work)
3.ไม่มีความสุขกับเงื่อนไขของงาน (Unpleasant job condition)
ความขัดแย้ง กับการสื่อสาร
ความขัดแย้งเกิดขึ้นได้ เมื่อมีความคิดเห็นที่ไม่ลง รอยกัน ด้วยเรื่องในเชิงเนื้อหาสาระหรือเชิงอารมณ์ ซึ่งก่อให้เกิด การกระทบกระทั่งกันระหว่างบุคคลหรือกลุ่ม
ความหมายของการสื่อสาร
1.กระบวนการแลกเปลี่ยนข่าวสารหรือข้อเท็จจริง (Fact) หรือความรู้สึก
2.ระหว่างบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป ประกอบด้วยบุคคลสองฝ่าย คือ ผู้รับข่าวสาร (Receivers) และผู้ส่งข่าวสาร(Sender)
วัตถุประสงค์ของการติดต่อสื่อสารในองค์กร
1.เป็นการให้ข้อมูลข่าวสาร
2.เป็นการประเมินผลการทำงานของแต่ละบุคคล
3.เป็นการอำนวยการหรือสอนงานผู้อื่น
4.เป็นการใช้อิทธิพลเหนือผู้อื่น
5.เป็นผลทางอ้อมต่อองค์กร
องค์ประกอบของการติดต่อสื่อสาร
1.ผู้ส่งข่าวสาร
2.ผู้รับข่าวสาร
3.ข่าวสาร
4.สื่อ
5.ช่องทาง
กระบวนการติดต่อสื่อสาร
1.แหล่งที่มา
2.การใส่รหัส
3.สื่อการส่งผ่านข้อความ
4.การถอดรหัส
5.ผู้รับข่าวสาร
6.ข้อมูลป้อนกลับ
7.สิ่งรบกวน
หน้าที่ของการติดต่อสื่อสาร
1.การควบคุม
2.การจูงใจ
3.การแสดงอารมณ์
4.การให้ข้อมูลข่าวสาร
ประสิทธิผลและประสิทธิภาพในการติดต่อสื่อสาร
การติดต่อสื่อสารที/มีประสิทธิผล(Effective Communication) เกิดขึ้นเมื่อข้อความจากแหล่งที/มาและระบุความหมายถึงผู้รับอย่างแท้จริง
การติดต่อสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ (Efficient Communication) เกิดขึ้นได้ใช้ทรัพยากรน้อยที่สุดเช่น การส่ง E-mail ใช้เวลาในการ ส่งเร็วซึ่งประหยัดเวลาสำหรับผู้ส่งแต่อาจไม่สำเร็จในความ ปรารถนาของการแปลความหมายและการตอบสนอง
การติดต่อสื่อสารที่ไม่เป็นภาษา(Nonverbal Communication)
การเคลื่อนไหวของร่างกาย(Kinesics com.) ลักษณะท่าทาง สีหน้า สายตา ลักษณะทางกายภาพ
ความใกล้ไกลของสถานที/(Proxemics) อิทธิพลของสถานที่ที่มีการติดต่อสื่อสารระยะทางของการ ติดต่อสื่อสาร ถ้าผู้ส่งและผู้รับสารอยู่ห่างไกลกันมาก และต้องอาศัยคนกลางส่งข้อมูลย่อมทำให้การส่งข้อมูลมีการล่าช้า และข้อมูลบิดเบือนได้
ลักษณะของน้ำเสียง (Paralanguage) น้ำเสียงที่เปล่งออกมาแสดงถึงอารมณ์และความรู้สึก
อุปสรรคของการสื่อสาร(Communication Barriers)
ข้อจํากัดทางกายภาพ (Physical Distractionsการติดต่อสื่อสารที่ไม่เป็นส่วนตัว รฟังไม่มีคุณภาพและการประเมินค่าที่ทำเร็วเกินไปความไม่ไว้วางใจการขู่เข็ญ และความหลัวระยะเวลาไม่เพียงพอ
ปัญหาเกี่ยวกับการใช้คํา (Semantic Problems) อุปสรรคที่เกิดขึ้นจากการใช้ภาษา การใช้คำคลุมเครือไม่ชัดเจน ภาษายาก สำนวนฟัง-อ่านไม่เข้าใจ ทำให้เกิดการตีความหายผิดการบิดเบือนความหาย ทั้งที่เกิดจากความไม่ตั้งใจ และความจงใจความผิดพลาดของการส่งข่าวสารและความไม่ดี
อุปสรรคของการสื่อสาร
1.การผสมผสานของข้อความ Mix Messages
2.การขาดข้อมูลป้อนกลับ
3.ผลกระทบจากสถานะ
ปัญหาการติดต่อสื่่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารผ่านอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Communication)
ข้อดี
1.แจกจ่ายข้อมูลให้มากและเร็ว
2.ทำข้อมูลให้ใช้ประโยชน์มากกว่าเมื่อก่อน
3.ยอมรับขอบเขตและการเข้าใช้อย่างทันทีทันใด ของข้อมูล
4.สนับสนุนการทำานร่วมกันในการแบ่งและใช้ข้อมูล
5.ผสมผสานระบบการทำงานและใช้ข้อมูลเชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อม
ข้อเสีย
1.อารมณ์ของมุมมองในการติดต่อสื่อสาร
2.ข้อมูลมากเกินไป
การศึกษาด้านพฤติกรรมของบุคคลในองค์การ โดย ศึกษาถึง
1.ความสามารถและทักษะ เช่น สติปัญญาทางกายภาพ
2.ภูมิหลังเช่น ครอบครัวและสังคม ประสบการณ์
3.ลักษณะทางกายภาพ อายุ เพศ
นักทฤษฎีหลายท่านได้ทําการวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมและเป็นที่ยอมรับ กันโดยทั่วไปว่า
1.พฤติกรรมที่แสดงออกตต้องมีสาเหตุ
2.พฤติกรรมเป็นผลมาจากการวางเป้าหมาย
3.พฤติกรรมสามารถสังเกตและวัดได้
4.พฤติกรรมม่สามารถวัดได้โดยตรง เช่น การคิด การรับรู้
5.พฤติกรรมเป็นผลมาจากการจูงใจ