Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่9 สมดุลของน้ำอิเล็คโตรไลท์ และภาวะกรดด่างในร่างกาย - Coggle Diagram
บทที่9 สมดุลของน้ำอิเล็คโตรไลท์
และภาวะกรดด่างในร่างกาย
การควบคุมความสมดุลของกรด - ด่าง
(regulation of acid base balance )
ในภาวะปกติ pH ในเลือดแดง (arterial blood pH) มีค่าประมาณ 7.4 และ pH ใน เลือดดำ (venous blood pH) มีค่าประมาณ 7.35 pH ในเลือดดำ ต่ำกว่าในเลือดแดงเนื่องจากในเลือดดำ มีคาร์บอนไดออกไซด์อยู่ มากกว่า ในเลือดแดงpH ส่วนภายในเซลล์มีค่าเป็น 7.0 – 7.2 เนื่องจาก ภายในเซลลเ์ป็นแหล่งให้คาร์บอนไดออกไซด์และกรดอินทรีย์ต่างๆ อยู่เกือบตลอดเวลาจึงทำให้ค่าpH ในเซลล์สูงกว่าในเลือดดำ
หน้าที่ของน้ำภ่ายในร่างกาย
( FUNCTIONOFBODYFLUID )
น้ำ (WATER)
น้ำ ( total body fluid ) เป็นส่วนประกอบ 2 ใน 3 ของร่างกาย ซึ่งสำมารถแบ่งออกเป็นสองส่วนใหญ่ๆ โดยมีเยื้อกั้นบางๆ (membrane) เป็นตัวแยก
: 55-60% ของน้ำหนักตัว
1.น้ำภายในเซลล์ ( intracellular fluid ; ICF )
: 40% ของน้ำหนักตัว
2.น้ำภายยนอกเซลล์ ( extracellular fluid ; ECF ) : 20% ของน้ำหนักตัว
1.น้ำภายยในหลอดเลือด ( intravascular fluid หรือ plasma ) 5% ของน้ำหนักตัว
2.น้ำ ระหวำ่งเซลล์( interstitial fluid ) ซ่ึ่งเป็นน้ำ ส่วนที่อยนู่อกหลอดเลือด และอยตู่ำมช่องวำ่ง ระหวำ่งเซลล์รวมทั้งน้ำ ที่อยู่ภายในอวยัวะต่ำงๆ เช่น น้ำ ในลูกตา น้ำ ย่อยอาหารรและน้ำ ไขสันหลัง
( CSF ) : 15% ของน้ำหนักตัว
WATER INTAKE
(1500 - 3000 M L)
ร่างกายได้รับน้ำ 3 ทาง คือ
• น้ำดื่ม อาหารเหลว น้ำที่ปนในอาหาร(500-1500 ml)
• อาหาร เช่น ข้าวเนื้อผักผลไม้ (800-1000 ml)
• เมตาบอลิซึมของร่างกาย : วิธี water of oxidation หรือ metabolic water (200-500 ml)
ร่างกายสูญเสียน้ำ 2 ทางคือ
ทำงที่ปรับสมดุลได้
(insensible perspiration)
ทางที่หลีกเลี่ยงไม่ได้(insensible perspiration)
WATER OUTPUT ( 1300 - 3000 M L )
ทางที่ปรับสมดุลได้ (insensible perspiration) ได้แก่
2.1 ทางเดินอาหารออกไปกับอุจจาระ 100-200 ml.
2.2 ผิวหนัง โดยทางเหงื่อ 0-10 ml. (5000 ml.ถ้าออกกำลังกายหนัก)
2.3 ระบบขับถ่ายปัสสาวะ 500-3000 ml. ขึ้นอยู่กับการดื่มน้ำ , ปริมาณ ADH น้อย (ปัสสาวะมาก), ปริมาณตัวละลาย (solute) ที่ กรองผำ่น glomerulus (ขับ uria มาก ปัสสำวะมาก), สมรรถภาพของไต, และการเสียน้ำ ทางอื่น
เหงื่อ อาเจียน ท้องเสีย=ปัสสาวะน้อย
ทางที่หลีกเลี่ยงไม่ได้(insensible perspiration) ประมาณ 500-800 ml. ได้แก่ทางผิวหนัง 300 ml. ปอด 300-500 ml. ขึ้นอยู่กับ
อัตราเมตาบอลิซึม
อุณหภูมิของร่างกาย
ความชื้น
อุณหภูมิของอากาศ
กิจกรรมที่ทำ
อารมณ์
การควบคุม สมดุลน้ำในร่างกาย
อาศัยการควบคุม 2ทางคือ
การกระหายน้ำ ควบคุมโดย ปริมาตรน้ำ และความเข็มข้นของพลาสมาศูนย์ กระหายน้ำ ในไฮโปธาลามัส (Hypothalamus)
การขับปัสสำวะ อาศัยไต ควบคุมโดยความเข้มข้น และปริมาตรของพลาสมา
กลไกการรักษาดุลยภาพของน้ำ
1.การกระหายน้ำ
สมองส่วน ไฮโพทาลามัส (hypothalamus) ควบคุมปริมาณน้ำ ในเลือด ถ้าร่างกายขาดน้ำมากจะทำ ให้เลือดเข็มข้นกว่าปกติเกิด
ADH ไปกระตุ้นท่อหน่วยไตใหดูดน้ำ กลับเข้าสู่หลอดเลือดทำให้ปริมาณน้ำในหลอดเลือดสูงขึ้น
ถ้ำเลือดเจือจางไฮโพรทาลามัสจะยับยั้งการ สร้าง ADH ทำให้การดูดน้ำกลับคืนน้อยน้อย ปริมาณน้ำ ในร่างกายจึงอยู่ในสภาวะสมดุล
2.การขับปัสสาวะ
กลไกควบคุมควษฒเข้มข้นของพลาสมาให้
2.กลไกควบคุมปริมาตรน้ำ
-การกรองที่ไต
-aldosterone
-ADH
ภาวะขาดน้ำ
ความหมาย
ภาวะขาดน้ำ (Fluid deficit หรือ Dehydration) คือภาวะที่ร่างกายสูญเสียน้ำ มากกว่าที่ได้รับอาจขาดเฉพาะน้ำ
อย่างเดียวหรือ
ขาดน้ำ
สาเหตุ
1.ได้รับน้ำน้อยลง ดื่มน้ำน้อยเกินไป
ร่างกายสูญเสียน้ำมากเกินไป
2.1 ปัสสาวะมากผิดปกติ
2.2เสียทางผิวหนังและปอดเหงื่อ
ออกมากผิดปกติ
กลไกการเปลี่ยนแปลกที่เกิดขึ้น
การเปลี่ยนแปลงที่ระดับเซลล์
• เมื่อร่างกายขาดน้ำ จะมีผลทำให้ความเข็มข้นของพลาสมาเพิ่มขึ้น
• จึงดึงน้ำ จากภายในเซลลอ์อกสู่ภายนอกเซลลจ์นกระทั้งความเข็มข้น ในและนอกเซลล์เท่ากัน
• เนื่องจากปริมาตรน้ำในเซลล์
มากกว่าน้ำ นอกเซลล์ในอัตราส่วน น้ำ ในเซลล์น้ำนอกเซลล์
2.การตอบสนองของร่างกาย
• ปริมาตรน้ำนอกเซลล์ที่ลดลงและความเข็มข้นของพลาสมาเพิ่มขึ้น
• มีผลกระตุ้นการหลงอัลโดสเตอโรน ADH และกระตุ้นศูนย์กระหายน้ำ
• ทำให้ปริมาตรปัสสาวะลดลงน้ำ และโซเดียมถูกดูดกลับเพิ่มขึ้น และดื่มน้ำ มำกขึ้น
อาการขาดน้ำ
อาการขาดน้ำ ที่รุนแรงน้อยถึงปำนกลาง
ได้แก่ ผิวแห้ง, ริมฝี ปาก, ช่องปากแห้ง, อ่อนเพลีย, เหนื่อยง่าย, ปัสสาวะน้อย, มึนหัว เวียนศีรษะ
อาการจากขาดน้ำ รุนแรงได้แก่ กระหายน้ำ รุนแรง,สับสน กระสับกระส่าย ซึม , ผิวหนังแห้งมาก ,ปากแห้งมาก ,ตาลึกโหล ,ไม่มีเหงื่อ ปัสสาวะน้อยมาก สีเหลืองเข็มมาก,กระหม่อมจะบุ๋มลึก, มีไข้มักเป็นไข้ต่ำ
ภาวะน้ำเกินแะภาวะพิษของน้ำ
WATER
EXCESS AND WATER INTOXI CATION
-การคั่งของเกลือและน้ำ(isotonic expansion)
การคั่งของน้ำ อย่างเดียว(water volume excess)
การคั่งของน้ำ มากกว่าเกลือ(hypo-tonic expansion)
สาเหตุ
ไตพิการ
• เลือดไปเลี้ยงไตลดลง
• มีการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ
• ไตปกติแต่มีการหลั่ง ADH มากขึ้น
กลไกการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
การเปลี่ยนแปลงที่ระดับเซลล์
น้ำที่เกินจะเคลื่อนที่จากภายนอกเซลล์ เข้าไปภายในเซลล์จนกระทั่งความเข็มข้นเข้ากัน ทำให้เซลล์บวม ระดับ Hct จะไม่เปลี่ยนแปลง
การตอบสนองของร่างกาย
•ระดับความเข้มข้นที่ลดลงและปริมาณ
• น้ำนอกเซลล์ที่เพิ่มขึ้นมีผลยับยั้งการหลั่งADH
•และอัลโดสเตอโรน ปัสสาวะจึงออกมากขึ้นร่วมกับกลไกยับยั้งการทำงานของศูนย์ กระหายน้ำ
อาการและอาการแสดง
เป็นอาการที่เกิดจากการทำงานของเซลล์สมองผิดปกติมีการบวมน้ำ แบ่งเป็น 2 แบบ คือ
แบบเฉียบพลัน อาการที่พบ คือปวดศรีษะ
•คลื่นไส้อำเจียน
• น้ำหนักตัวเพิ่ม
แบบเรื้อรัง อาการที่พบคือ
•ไม่มีแรง ซึม ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม เลอะเลือน
ความหมายของคำ
Acidosis: ภาวะที่ร่างกายมีความเป็นกรดเกิดขึ้น มีระดับของ pH ในเลือดแดง <7.35
Alkalosis: ภาวะที่ร่างกายมรความเป็นด่างเกิดขึ้น มีระดับของ pH ในเลือดแดง >7.45
Arterial Blood Gases: วิธีประเมินค่าความเป็นกรด-ด่างของร่างกายโดยการเจาะเลือดจากหลอดเลือดแดง แล้วนำไปหาค่า
Buffer: สารซึ่งละลายน้ำจะคง pH ของสารนั้นไว้ได้แม้ว่าเติมกรดแก่ หรือด่างแกลงไป หรือแม้ pH จะเปลี่ยนแปลงก็เพียงเล็กน้อย
ในสภาวะปกติของร่างกาย
metabolism ของร่างกายจะเกิดกรดตลอดเวลา เนื่องจาก oxidation ของอาหาร กรดนี้ จะแบ่งเป็น3 กลุ่มใหญๆ
volatile acid ได้แก่ CO2
Fixed acids ได้แก่ sulfuric acid และ phosphoric acid
3.กรดอินทรีย์ เช่น lactic acid,acetoacetic และ butyric acid
การวัดความเป็นกรด-ด่าง
ในเลือดเเดง pH ปกติมีค่า 7.35-7.45
ในเลือดดำและในช่องระหว่างเซลล์ pH มีค่าประมาณ 7.35
ภายในเซลล์ pH ปกติอยู่ระหว่าง 6.0-7.4 แตกต่างกันในเซลล์ต่าง
pH ในเลือดแดงมีค่า>7.45 เรียกว่า alkalosis
pH ในเลือดแดงมีค่า <7.35 เรียกว่า acidosis
สิ่งที่ช่วยควบคุมกรด-ด่างในร่างกาย
ฺฺิิBuffer: มีอยู่ทั้งในและนอกเซลล์ จะปรับภาวะกรด-ด่างให้เข้าสู่สมดุลภายในไม่ถึงนาที มีปริมาณจำกัด
ระบบหายใจ ปอด: ควบคุมอัตราการจำกัด CO2 ออกจากร่างกายมีผลต่อการเปลี่ยนแปลก carbonic acid (H2CO3)
ไต: ควบคุมปริมาณการขับทิ้ง H+ ในปัสสาวะ
ระบบ buffer ในร่างกายแบ่งเป็น 4 ระบบ
ิBicarbonate-carbonic acid buffer system
Phosphate buffer system
Protein buffer system
Haemoglobin buffer system
การควบคุมภาวะกรด-ด่างโดยระบบหายใจ
สามารถปรับ pH ภายใน 1-15 นาที ให้ผลสูงสุดที่ 12-24 ชม.
การควบคุม pH โดยระบบหายใจให้ผลระหว่าง 50-75%
ถ้า pH ลดต่ำกว่า 7.4 H+ ที่เพิ่มจะกระตุ้นการหายใจเพื่อจำกัด CO2 ทำให้ pH สูงขึ้น
ถ้า pH เพิ่มสูงกว่า 7.4 H+ ที่ลดลงจะลดการหายใจเพื่อเพิ่ม CO2 ทำให้ pH ต่ำลง
การควบคุมภาวะกรด-ด่างโดยไต
ขับกรดที่เกิดจาก metabolism ของร่างกาย โดยเฉพาะ non-volatile acid
non-volatile acid จาก protein: amino ที่มี sulfuric และ phosphoric acid
2.non-volatile acid จาก lipid: keto acid
non-volatile acid จาก carbohydrate: lactic acid และ pyruvic acid
กลวิธีในการรักษาสมดุลกรด-ด่างของไต
1.การดูดซึมกลับของ bicarbonate
2.การขับ H+ โดยรวมกับ HPO4 เป็น H2PO4 หรือ titratable acid
3.การขับ H+ โดยการสร้างเกลือแอมโมเนีย
อวัยวะสำคัญในกลไกประกอบด้วย 3 วิธีคือ
1.การดูดซึม bicarbonate ที่กรองผ่าน glomeruli กลับที่ proximal tubule
การขับกรด H+ ออกมาในปัสสาวะที่ distal tubule และ collecting duct
3.การขับ bicarbonate จาก distal tubule และ collecting duct ออกมาในปัสสาวะ
ความผิดปกติของสมดุลกรด-ด่าง
Primary metabolic acidosis: เสีย bicarbonate เกิดกรดขึ้นมากในร่างกาย
Primary metabolic acidosis: มีการสะสม bicarbonate ในร่างกายเกิดจากการเสียกรดออกจากร่างกายมากกว่าปกติ
Primary metabolic acidosis: สูงขึ้นpH ลดลง
Primary metabolic acidosis: เพิ่มการหายใจ CO2 ต่ำลง pH เพิ่มขึ้น