Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สมดุลน้ำ อิเล็คโตรไลท์ กรดด่างในร่างกาย - Coggle Diagram
สมดุลน้ำ อิเล็คโตรไลท์ กรดด่างในร่างกาย
การควบคุมความสมดุลของกรด-ด่าง
ในภาวะปกติ pH ในเลือดแดง(arterial blood pH) มีค่าประมาณ 7.4 และ pH ในเลือดดำ (venous blood pH) มีค่าประมาณ 7.35 pH ในเลือดดำต่ำกว่าในเลือดแดง ส่วนภายในเซลล์มีค่าเป็น 7.0-7.2 เนื่องจากภายในเซลล์เป็นแหล่งให้คาร์บอนไดออกไซ์
ความหมายของคำ
-Alkalosis: ภาวะที่ร่างกายมีความเป็นด่างเกิดขึ้น มีระดับของ pH ในเลือดแดง >7.45
-Arterial Blood Gases: วิธีประเมินค่าความเป็นกรด-ด่างของร่างกายโดยการเจาะเลือดจากหลอดเลือดแดง แล้วนำไปหาค่า
-Acidosis:ภาวะที่ร่างกายเป็นกรดเกิดขึ้น มีระดับของ pH ในเลือดแดง<7.35
-Buffer: สารซึ่งบเมื่อละลายน้ำจะคง pH ของนั้นไว้ได้แม้ว่าเติมกรดแก่ หรือด่างแก่ลงไป หรือแม้ pH จะเปลี่ยนแปลงก็เป็นเพียงเล็กน้อย
ในสภาวะปกติของร่างกาย
metabolism ของร่างกายจะเกิดกรดตลอดเวลา เนื่องจาก oxidation ของอาหาร
2.Fixed acids ได้แก่ sulfuric acid และ phosphoric acid
3.กรดอินทรีย์ เช่น lactic acid, acetoacetic acid และ butyric acid
1.Volatiie acid ได้แก่ CO2
การวัดความเป็นกรด-ด่าง
-ภายในเซลล์ pH ปกติอยู่ระหว่าง 6.0-7.4 แตกต่างกันในเซลล์ต่างๆ
-pH ในเลือดแดงมีค่า >7.45 เรียกว่า alkalosis
-ในเลือดดำและในช่องว่างระหว่างเซลล์ pH มีค่าประมาณ 7.35
-pH ในเลือดมีค่า < 7.35 เรียกว่า acidosis
-ในเลือดแดง pH ปกติค่า 7.35-7.45
Regulation of blood pH
สิ่งที่ช่วยควบคุมภาวะกรด-ด่างในร่างกาย
-ระบบหายใจ ปอด : ควบคุมอัตราการจำกัด CO2 ออกจากร่างกาย
-ไต: ควบคุมปริมาณการขับทิ้ง ในปัสสาวะมีประสิทธิภาพในการควบคุมกรด-ด่างมากที่สุด
-Buffer: มีอยู่ทั้งในและนอกเซลล์ จะปรับภาวะกรด-ด่างให้เข้าสู่สมดุลภายในไม่กี่วินาที มีปริมาณจำกัด
ระบบ buffer ในร่างกายแบ่งเป็น 4 ระบบ
2.Phosphate buffer system
3.Protein buffer system
1.Bicarbonate-carbonic acid buffer system
4.Haemoglobin buffer system
การควบคุมภาวะกรด-ด่างโดยระบบหายใจ
-การควบคุม pH โดยระบบหายใจให้ผลระหว่าง 50-75%
-ถ้า pH ลดต่ำกว่า7.4 ที่เพิ่มขึ้นจะกระตุ้นการหายใจเพื่อกำจัด CO2 ทำให้ pH สูงขึ้น
-สามารถปรับ pH ภายใน 1-15 นาที ให้ผลสูงสุดที่ 12-24 ชม.
-ถ้า pH เพิ่มสูงกว่า 7.4 ที่ลดลงจะลดการหายใจเพื่อเพิ่ม CO2 ทำให้ pH ต่ำลง
การควบคุมภาวะกรด-ด่างโดยไต
ขับกรดที่เกิดจาก metabplism ของร่างกาย โดยเฉพาะ non-volatlie acid
2.non-volatile acid จาก lipid: Keto acid
3.non-volatile acid จาก carbohydrate: lactic acid และ pyruvic acid
1.non-volation acid จาก protein acid ที่มี sulfuric และ phosphoric acid
กลวิธีในการรักษาสมดุลกรด-ด่างของไต
Metabolic mechanism ใช้เวลาเป็นชั่วโมงถึงเป็นวัน และเต็มที่ภายใน 3-6วัน โดยมีไตเป็นอวัยวะสำคัญในกลไกนี้
1.การดูดซึม bicarbonate ที่กรองผ่าน glomeruli กลับที่ poximal tubule ร้อยละ 75 ของ bicarbonate ที่ถูกกรองจากไต
2.การขับกรด ออกมาในปัสสาวะที่ distal tubule และ collecting duct -H๋ ที่ถูกขับออกมาจาก tubular cell จะรวมกับ NH3 เป็น NH*4 หรือรวมกับเกลือฟอสเฟต
3.การขับ bicarbonate จาก distal tubule และ collecting duct ออกมาในปัสสาวะกรณีที่ร่างกายมีภาวะเป็นด่าง
ความผิดปกติของสมดุลกรด-ด่าง
-Primary metabolic alkalosis: มีการสะสม bicarbonate ในร่างกาย เกิดจากการเสียกรดออกจากร่างกายมากกว่าปกติกว่า
-Primary respiratory acidosis : ลดการหายใจ CO2 สูงขึ้น pH ลดลง
-Primary metabolic acidosis: เสีย bicarbonate เกิดขึ้นมากในร่างกาย
-Primary metabolic alkalosis:เพิ่มการหายใจ CO2 ต่่ำลง pH เพิ่มขึ้น
การแปลผล ABGs
ขั้นที่2 ดูต่า PaCO2 หาค่า PaCO2 > 45 mmHg.=acidosis,Paco2<35 mmHg=alkalosis
ขั้นที่3 ดูค่า HCO3 หาค่า HCO3 >26=alkalosis, HCO3 <22=acidosis
ขั้นที่1 ดูค่า pH หาค่า pH <7.35 =acidosis,pH>7.45=alkalosis2
ขั้นที่4 พิจารณาการชดเชย
1.กรณีไม่มีการชดเชย
2.กรณีมีการชดเชย
น้ำและเล็คโตรไลท์ในร่างกาย
หน้าที่ของน้ำภายในร่างกาย ( Function of Body fluid)
-เป็นตัวกลางในการนำสารต่างๆ ไปยังระบบที่เหมาะสม
-ใช้ปฏิกิริยาเคมีที่สำคัญในร่างกาย เช่น การสลาย
-ช่วยในการดูดซึมและแพร่กระจายของสารต่างๆ
-ควบคุมการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของส่วนนั้นๆ
-ควบคุมอุณหภูมิร่างกาย
น้ำ(Water) เป็นส่วนประกอบ 2 ใน 3 ของร่างกาย ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นสองส่วนใหญ่ๆโดยมีเยื้อกั้นบางๆ (membrane) เป็นตัวแยก: 55-60% ของน้ำหนักตัว
1.ภายในเซลล์(intracellular fluid: ICF) : 40% ของน้ำหนักตัว
2.น้ำภายนอกเซลล์ (extracellular fluid: ECF): 20% ของน้ำหนักตัว
Water intake (1500-3000 ML) ร่างกายได้รับน้ำ 3 ทางคือ
-อาหาร เช่น ข้าว เนื้อ ผัก ผลไม้ (800-1000ml)
-เมตาบลิซึมของร่างกาย: วิธี water of oxidation หรือ metabolic water (200-500ml)
-ดื่มน้ำ อาหารเลว น้ำที่ปนในอาหาร( 500-1500 ml)
ร่างกายสูญเสียน้ำ 2 ทางคือ
1.ทางที่หลีกเลี่ยงไม่ได้(insesibie perspiration) ประมาณ 500-800ml ได้แก่
-ความชื้น
-อุณหภูมิของอากาศ
-อุณหภูมิของร่างกาย
-กิจกรรมที่ทำ
-อัตราเมตาบอลิซึม
-อารามณ์
2.ทางที่ปรับสมดุลได้(insensible perspiration)
2.1 ทางเดินอาหาร ออกไปอุจจาระ 100-200ml
2.2ผิดหนัง โดยทางเหงื่อ 0-10ml
2.3ระบบขับถ่ายปัสสาวะ 500-3000ml
การควบคุมสมดุลน้ำในร่างกาย
1.การกระหายน้ำ ควบคุมโดย ปริมาตรน้ำและความเข้มข้นของพลาสมา ศูนย์กระหายน้ำในไฮโปธาลามัส(Hypothalamus)
2.การขับปัสสาวะ อาศัยไต ควบคุมความเข้มข้น และปริมาตรของพลาสมา
กลไกการรักษาดุลยภาพของน้ำ
1.การกระหายน้ำ สมองส่วนไฮโพทาลามัส (hypothalamus) ควบคุมปริมาณน้ำในเลือด ถ้าร่งกายขาดน้ำ มากจะทำให้เลือดเข้มข้นกว่าปกติ เกิดอาการกระกายน้ำ การเปลี่ยนแปลงเช่นนี้ส่งผลให้สมองส่วนไฮโพทาลามัสไปกระตุ้นปลายประสาทในต่อมใต้สมองส่วนหลัง
2.การขับปัสสาวะ
1.กลไกควบคุมความเข้มข้นของพลาสมาให้คงที่โดยอาศัย ADH
2.กลไกควบคุมปริมาตรน้ำ
-การกรองที่ไต
-aldosterone
-ADH
ภาวะขาดน้ำ
-ภาวะขาดน้ำ(Fluid deficit หรือ Dehydration) คือภาวะที่ร่างกายสูญเสียน้ำมากกว่าที่ได้รับ อาจขาดเฉพาะน้ำอย่างเดียว
ขาดน้ำมากกว่าเกลือ(hypertonic dehydration)
ขาดทั้งน้ำและเกลือ(isotonic dehydration หรือ hypotonic dehydration)
สาเหตุ
1.ได้รับน้ำน้อยลง ดื่มน้อยเกินไป โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีอาการโคม่า ผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ รวมถึงผู้ที่มีอาการป่วย เป็นหวัด หรือเจ็บคอ ทำให้รู้สึกเบื่ออาหารและดื่มน้ำน้อยลง
2.ร่างกายสูญเสียน้ำมากเกินไป ในผู้ป่วยที่มีอาการอาเจียน ท้องเสีย ทำให้ร่างกายสูญเสียน้ำและแร่ธาตุเป็นจำนวนมาก รวมถึงการสูญเสียน้ำผ่านทางบาดแผลที่ผิวหนัง เช่น แผลไฟไหม้ แผลในปาก แผลติดเชื้อที่ผิวหนัง
กลไกการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
1.การเปลี่ยนแปลงที่ระดับเซลล์
-จึงดึงน้ำจากภายในเซลล์ออกสู่ภายนอกเซลล์จนกระทั่งความเข้มข้นในและนอกเซลล์เท่ากัน
-เนื่องจากปริมาตรน้ำในเซลล์มากกว่าน้ำนอกเซลล์ในอัตราส่วน น้ำในเซลล์น้ำออกเซลล์เท่ากับ 2:1
-เมื่อร่างกายขาดน้ำจะมีผลทำให้ความเข้มข้นของพลาสมาเพิ่มขึ้น
2.การตอบสนองของร่างกาย
ขมีผลกระตุ้นการหลั่งอัลโดสเตอโรน ADH และกระตุ้นศูนย์กระหายน้ำ
-ทำให้ปริมาตรปัสสาวะลดลงน้ำและโซเดียมถูกดูดกลับเพิ่มขึ้น และดื่มน้ำมากขึ้นตามลำดับ
-ปริมาตรน้ำนอกเซลล์ที่ลดลงและความเข้มข้นของพลาสมาเพิ่มขึ้น
อาการขาดน้ำ
อาการขาดน้ำที่รุนแรงน้อยถึงปานกลาง ได้แก่ ผิวปห้งม ริมฝีปากม ช่องปากแห้งม อ่อนเพลียม เหนื่อยง่ายม ปัสสาวะน้อย
อาการขาดน้ำรุนแรง ได้แก่ กระหายน้ำรุนแรง,สับสน กระสับกระส่าย ซึม, ผิวหนังแห้งมาก, ปากแห้งมาก, ตาลึกโหล, ไม่มีเหงื่อ ปัสสาวะน้อยมาก สีเหลือเข้มมาก
สีปัสสาวะสามารถบอกภาวะขาดน้ำได้
-การคั่งของน้ำอย่างเดียว(water volume excess)
-การคั่งของน้ำมากกว่าเกลือ(hyo-tonic expansion)
-การคั่งของทั้งเกลือและน้ำ(isotonic expansion)
สาเหตุ
เครียด คลื่นไส้ ที่มีความล้มเหลวในการควบคุมการหลั่งและยับยั้งฮอร์โมน ADH ผู้ป่วยที่ขาดโซเดียม ทำให้น้ำเข้าเซลล์มากกว่าขึ้น เกิดภาวะน้ำเกินภายในเซลล์ คนจมน้ำจืดผู้ป่วยที่ขาดคอร์ติโคสเตียรอย เช่น โรคแอดดิสัน ขาดฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง
กลไกการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
1.การเปลี่ยนแปลงที่ระดับเซลล์ น้ำเกินจะเคลื่อนที่จากภายนอกเซลล์ เข้าไปภายในเซลล์จนกระทั่งความเข้มข้นเท่ากัน ทำให้เซลล์บวม
2.การตอบสนองของร่างกาย ระดับความเข้มข้นที่ลดลงและปริมาณ น้ำนอกเซลล์ที่เพิ่มขึ้นมีผลยับยั้งการหลั่งADHและอัลโดสเตอโน ปัสสาวะจึงออกมากขึ้น ร่วมกับ กลไกยับยั้งการทำงานศูนย์การกระหายน้ำ
อาการและอาการแสดง
1.แบบเฉียบพลัน อาการที่พบคือ ปวดศรีษะ
-น้ำหนักตัวเพิ่ม
-ม่านตาขยายไม่เท่ากัน ซึม
-ท่าทางผิดปกติ กระตุก ชัก ความดันเลือดสูง
-ไม่รู้สึกตัว รีเฟล็กซ์ไวขึ้น การหายใจหยุด
-คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง อุปนิสัยและกิริยา
2.แบบเรื้อรัง อาการที่พบคือ
-ไม่มีแรง ซึม ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม เลอะเลือน
-พบอาการบวมได้เมื่อผู้ป่วยมีน้ำเกินในส่วนน้ำนอกเซลล์ 3 ลิตร หรือมีน้ำเกินทั้งหมดในร่างกาย 9 ลิตร
-อ่อนเพลีย
-ถ้ามีอาการบวมในปอด จะทำให้หายใจลำบาก และ เหนื่อย หอบ ไอมาก