Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลบาดแผล - Coggle Diagram
การดูแลบาดแผล
แผลกดทับ
-
-
-
การดูแลแผลกดทับ
-
-
ผู้ที่แผลเปิดออกให้ล้างด้วยน้ำเกลือสำหรับล้างแผลทุกคร้ังเมื่อต้องทำ แผล พันแผลเพื่อช่วยใหแ้ผลหายเร็วข้ึน
-
หลักการทำแผล
-
-
ขั้นตอนการทำแผล
-
- สวมถุงมือทุกคร้ังก่อนการทำแผล
- เปิดชุดทำแผล โดยใช้หลักsterile technique ในการหยิบ forceps ตัวที่1แล้วใช้ forceps ตัวที่1 หยิบforceps ตัวที่ 2ขึ้นมาวางไว้นตำแหน่งที่หยิบใชไ้ดง่ายเพื่อหลีกเลี่ยงการสัมผัสอุปกรณ์sterileอื่นๆ ในชุดทำ
- เตรียมน้ำยา ต่างๆ ในการทำแผล
- แกะเปิด dressing เก่าออกโดยควรทำด้วยความนุ่มนวลควรใช้ NSS
เทราดบนผ้าที่ติดกับแผลเพื่อช่วยให้สามารถแกะเปิดไดง่ายขึ้น
- forceps ตัวที่1 เป็น forceps ที่ใช้กับผู้ป่วย ส่วน forceps ตัวที่ 2 ใช้ forceps ที่ใช้หยิบอุปกรณ์ในชุดทำ
แผลโดย ใช้ forceps ตัวที่ 2จับสำลี ชุบ alcohol หมาดๆ ส่งให้forceps ตัวที่1 เพื่อเช็ดรอบๆ แผล
- ใช้ forceps ตัวที่ 2จับสำลีชุบ NSS ส่งให้forceps ตัวที่1 เช็ดบริเวณแผลหรือบริเวณที่มี granulation
- ถ้าบาดแผลมี necrotic tissue อาจพิจารณาทำ mechanical debridement โดยใช้ metzenbaum scissor
- ปิดแผลด้วย material ที่เหมาะสม
- ปิด plaster ตามแนว circumferential ไม่ใหตึ้งเกินไป โดยถ้าเป็นตำ แหน่งที่ผ้าปิดแผลอาจหลุดง่าย
- ทิ้งผ้าพันแผลเก่าและสำลีที่ใช้แล้วในถุงแล้วนำไปทิ้งที่ถงขยะติดเช้ือไม่ควรวางไว้ในรถทำแผล
-
- บันทึกลักษณะของแผล ปริมาณ discharge ใน progress note
การทำแผลในแบบต่างๆ
- Contaminated woundถ้าเป็นภาวะหลังผ่าตัดและเย็แผลแล้วการทำแผลคล้ายกับกลุ่ม cleancontaminated wound แต่อาจพิจารณาเปิดแผลก่อน 48 ชั่วโมงขึ้นอยู่กั บโอกาสการเกิดการติดเช้ือ
- Dirty and infected wounds เป็นแผลที่มีการปนเปื้อนมาก
- Clean contaminated wound ภายใน 48 ชั่วโมงแรกถ้าไม่มีdischarge ซึมจนถึง gauze ชั้นนอกไม่ต้องเปลี่ยนผ้าปิดแผลเปิดแผลหลัง 48 ชั่วโมง
-
- Clean wound ภายใน 48 ชั่วโมงแรกถ้าไม่มีdischarge ซึมในตัว gauze ชั้นนอกไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนผ้าปิดแผลควรเปลี่ยนหลัง 48 ชั่วโมงและปิดแผลไว้จนกว่าจะตัดไหม
-
-
การดูแลบาดแผล
แผลมีท่อระบาย
-
ท่อระบายมี2 ชนิด
ท่อระบายระบบปิดเป็นระบบสุญญากาศเช่น ท่อระบายแรดดิเวค(Radivacdrain ) หรืออาจใช้ท่อระบายระบบแรงดึงดูดของโลก
-
-
-
-
-
-
กลไกการหายของแผล
-
ระยะปรับเปลี่ยนใหม่ (Remodeling phase) ซึ่งเป็นระยะที่แผลเกิดการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง เพื่อเพิ่มความแข็งแรงให้แก่เนื้อเยื่อ
-
-
-