Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
⚖พระราชบัญญัติวิชาชีพ การพยาบาลและการผดุงครรภ์👩⚕️ - Coggle Diagram
⚖พระราชบัญญัติวิชาชีพ
การพยาบาลและการผดุงครรภ์👩⚕️
มาตรา 1
เรียกพระราชบัญญัตินี้ว่า "
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2528
"
มาตรา 2
บังคับใช้วันถัดไปหลังจากวันประกาศราชกิจจานุเบกษา
มาตรา 3
บรรดากฏหมาย กฏ ข้บังคับอื่นที่มีบัญญัติไว้แล้ว หรือขัดแย้งกับบทในพระราชบัญญัตินี้ให้
ใช้พระราชบัญญัตินี้
มาตรา 4
การพยาบาล
: การกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการดูแล ช่วยเหลือเมื่อเจ็บป่วย ฟื้นฟู ป้องกัน ส่งเสริมสุขภาพ รวมถึงช่วยเหลือแพทย์ในการรักษาโดยอาศัยวิทยาศาสต์+ศิลปะการพยาบาล
การผดุงครรภ์
: การดูแล ช่วยหลือหญิงมีครรภ์/หลังคลอด/เด็กแรกเกิด รวมถึงตรวจ ทำคลอด ส่งเสริมและ้งอกันความผิดปกติในระยะตั้งครรภ์/คลอด/หลังคลอด +ช่วยเหลือแพทย์ในการรักษา
การประกอบวิชาชีพพยาบาล
: การปฏิบัติหน้าที่การพยาบาลต่อบุคคล ครบครัว ชุมชน โดย สอน แนะนำ ให้คำปรึกษา แก้ปัญหาสุขภาพอนามัย จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อแก้ปัญหาความเจ็บป่วย ฟื้นฟู ให้ภูมิคุ้มกัน รักษาโรคเบื้องต้น ช่วยแพทย์รักษา
การประกอบวิชาชีพผดุงครรภ์
: การปฏิบัติหน้าที่ผดุงครรภ์ต่อหญิงมีครรภ์/หลังคลอด ทารกแรกเกิดและครอบครัว โดยสอน แนะนำ ให้คำปรึกษา แก้ปัญหาสุขภาพ ป้องกันความผิดปกติในระยะตั้งครรภ์/คลอด/หลังคลอด รวมถึงตรวจ/ทำคลอดฝวางแผนครอบครัว ช่วยแพทย์รักษาโรค
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
: บุคคลที่ขึ้นทะเบียนและได้ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลจากสภาการพยาบาล
ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
: บุคคลที่ได้ขึ้นทะเบียนและได้ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์จากสภาการพยาบาล
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
: บุคคลที่ได้ขึ้นทะเบียนและได้ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลและการผดุงครรภ์จากสภาการพยาบาล
ใบอนุญาต
: ใบอนุญาตที่สภาการพยาบาลออกให้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาล การผดุงครรถ์ การพยาบาลและการผดุงครรภ์
สมาชิก
: สมาชิกสภาการพยาบาล
กรรมการ
:กรรมการสภาการพยาบาล
คณะกรรมการ
: คณะกรรมการสภาการพยาบาล
เลขาธิการ
: เลขาธิการสภาการพยาบาล
พนักงานเจ้าหน้าที่
: ผู้ที่รัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตาม พรบ.นี้
รัฐมนตรี
: รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 5
ให้รมต.สธ. รักษาการตาม พรบ.นี้และให้มีอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่กับออกกฎกระทรวงกำหนดค่าทำเนียมไม่เกินอัตราท้าย พรบ. + ออกระเบียบและประกาศเพื่อปฏิบัติตาม พรบ. นี้
หมวด 1 : สภาการพยาบาล
มาตรา 6
ให้มีสภา+วัตุประสงค์+ อำนาจตามพรบนี้
ให้สภาการพยาบาลเป็นนิติบุคคล
มาตรา 7
สภามีวัตุประสงค์
ส่งเสริมการศึกษา บริการ วิจัย ความก้าวหน้าในวิชาชีพ
ส่งเสริมวามสามัคคีและผดุงเกียรติของสมาชิก
ควบคุมความประพฤติของผู้ประกอบวิชาชีพให้ถูกต้องตามหลักจริยธรรมวิชาชีพ
ช่วยเหลือ แนะนำ เผยแพร่ ให้การศึกษาแก่ประชาชน+องค์กรอื่นในเรื่องเกี่ยวกับวิชาชีพ
ให้คำปรึกษา/ข้อเสนอต่อรัฐบาลเกี่ยวกับปัญหาวิชาชีพ
เป็นตัวแทนผู้ประกอบวิชาชีพในประเทศไทย
ผดุงความเป็นธรรมและส่งเสริมสวัสดิการให้สมาชิก
มาตรา 8
มีอำนาจหน้าที่
รับขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ขอเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
สั่งพักใช้ใบอนุญาต/เพิกถอนใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
ให้ความเห็นชอบหลักสูตรการศึกษาวิชาชีพพยาบาลและผดุงครรภ์ในระดับอุดมศึกษาที่จะทำการสอน เพื่อเสนอทบวงมหาวิทยาลัย
รับรองหลักสูตรต่างๆสำหรับการศึกษาประกาศนียบัตรของสถาบันที่จะทำการสอน
รับรองหลักสูตรต่างๆ สำหรับการฝึกอบรมในวิชาชีพ
รับรองวิทยฐานะของสถาบันที่ทำการสอนและฝึกอบรม
รับรองปริญญา ประกาศนียบัตรเทียบเท่าปริญญา ประกาศนียบัตร หรือวุฒิบัตรในวิชาชีพของสถาบันต่างๆ
ดำเนินตามวัตถุประสงค์ของสภา
มาตรา 9
มีรายได้ต่อไปนี้
เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน
ค่าจดทะเบียนสามชิกสามัญ ค่าบำรุุง ค่าธรรมเนียมต่างๆ
ผลประโยชน์จากกิจกรรมอื่นตามวัตถุประสงค์ในมาตรา 7
เงินและทรัพย์สินซึ่งมีผู้ให้แก่สภา
ดอกผลของเงินและทรัพย์สินอื่นในมาตรา 9
มาตรา 10
ให้ รมต.ดำรงตำแหน่งสภานายกพิเศษ
หมวด 2 : สมาชิก
มาตรา 12
สิทธิ-หน้าที่
เลือกตั้ง รับเลือกตั้ง รับเลือกเป็นกรรมการ
ผดุงเกียรติศักดิ์วิชาชีพ
แสดงความคิดเห็นเป็นหนังสือเกี่ยวกับกิจการของสภาไปยังคณะกรรมการเพื่อพิจารณา
ในกรณีสมาชิก 50 คน เสนอให้คณะกรรมการพิจารณาเรื่องกิจการสภา
ขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ โดยปฏิบัติตามข้อกำหนดสภา
มาตรา 11
สมาชิกสามัญ
ไม่ประพฤติเสียหาย เสื่อมเสียต่อวิชาชีพ
ไม่เคยต้องโทษจำคุก
มีความรู้ในวิชาชีพได้รับปริญญาหรือประกาศนยบัตรที่สภารับรอง
ไม่เป็นผู้มีจิตฟั่นเฟือน
อายุมากกว่าหรือเท่ากับ 18 ปีบริบูรณ์
สมาชิกกิตติมศักดิ์
ผู้ทรงคุณวุฒิที่สภาเชิญมาเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์
มาตรา 13
สิ้นสุดสมาชิกสภาพเมื่อ
ลาออก
ขาดคุณสมบัติมาตรา 11(1)
ตาย
หมวด 3 : คณะกรรมการ
มาตรา 16
เลือกคณะกรรมการเพื่อดำรงตำแหน่งนายกสภา(มีอำนาจถอดถอนเลขาธิการก่อนครบวาระ)และอุปนายก
มาตรา 17
เลือกตั้งคณะกรรมการตามมาตรา 14 แต่งตั้งที่ปรึกษาตามาตรา 15และดำรงตำแหน่งต่างๆตามมาตรา 16
มาตรา 15
แต่งตั้งสมาชิกกิตติมศักดิ์หรือสมาชิกสามัญเป็นกรรมการที่ปรึกษา
มาตรา 18
คุณสมบัติกรรมการที่ปรึกษา ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ไม่เคยถูกสั่งพักหรือเพิกถอน ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
มาตรา 14
คณะกรรมการ ประกอบด้วย ผู้แทนสธ. 5 คน,กห. 3 คน,มท. 1 คน,ผู้แทนทบวงมหาวิทยาลัย 4 คน,
กทม. 1 คน,สภากาชาดไทย 1 คน,นายก สพท. และสมาชิกสภาการพยาบาล 15 คน
มาตรา 21
กรณีตําแหน่งกรรมการได้รับเลือกว่างลงไม่เกินกึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดก่อนครบวาระใหเ้ลือกสมาชิกมาดํารงตําแหน่งภายใน 30 วันนับตั้งเเต่ตําแหน่งนั้นว่างลง
มาตรา 22
อำนาจคณะกรรมการ
แต่งตั้งอนุกรรมการจริยธรรม สอบสวน ฯลฯ เพื่อทำกิจการหรือพิจารณาเรื่องต่างๆ
ออกข้อบังคับสภาการพยาบาล
บริหารกิจการพยาบาลตามมาตรา 7
มาตรา 20
พ้นตําเเหน่งเมื่อสิ้นสุดตามมาตรา 13 ขาดคุณสมบัติมาตรา 18 และลาออก
มาตรา 23
เลขาธิการ
มีอำนาจควบคุมเจ้าหน้าที่ทุกระดับ รับผิดชอบงานธุรการ ดูแลรักษาทะเบียนสมาชิก ดูแลทรัพย์สินของสภา และเป็นนเลขานุการคณะกรรมการ
รองเลขาธิการ
เป็นผู้ช่วยเลขาธิการ และรักษาการแทนเมื่อเลขาธิการไม่อยู่
อุปนายกสภาคนที่ 1 และ2
เป็นผู้ช่วยนายกสภาและทําการแทนนายกสภาเมื่อนายกสภาไม่อยู่
นายกสภา
มีอำนาจดําเนินกิจการของสภาเ็นนผู้แทนสภา และเป็นประธานในที่ประชุม
ประชาสัมพันธ์
มีหน้าที่แนะนํา ประสาสัมพันธ์
เหรัญญิก
ควบคุมดูแลบัญชีการเงินและงบประมาณของสภา
มาตรา 19
ผู้ได้รyับเลือกมีวาระพอยู่ในตําแหน่งคราวละ 4 ปี(ไม่เกิน 2 ครั้งติดต่อกัน)