Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.)โรคจิตสรีระแปรปรวน (Psychosomatic Disorders) คือ ภาวะที่มีความผิดปกติข…
3.)โรคจิตสรีระแปรปรวน (Psychosomatic Disorders) คือ ภาวะที่มีความผิดปกติของร่างกาย
อาการ
ปวดท้อง
แน่นท้อง
ความดันโลหิตสูง
การรักษา
1.รักษาโรคทางกายให้สงบตามอาการที่เกิด
การรักษาทางจิตใจ
การออกกําลังกายให้แข็งแรง
ความผิดปกติทางกายเนื่องจากสาเหตุทางจิตใจ (Somatic Symptom and Related Disorders)
Somatic Symptom Disorder หรือ Somatization Disorder ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองมีอาการผิดปกติทางกายหลายรูปแบบ และเกิดกับอวัยวะหลายระบบ
อาการ
มีความวิตกกังวลในระดับสูง ไม่มีความสุข
การระบาด
พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย ประมาณ 2-20 เท่า
การรักษา
จิตบำบัด
ยารักษาอาการวิตกกังวล
Conversion Disorder (Functional Neurological Symptom Disorder) มีอาการชา เช่น ชาครึ่งซีก, มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ เช่น โยกตัวเอนไปมา สาเหตุของอาการมาจากสภาวะทางสังคม การประกอบอาชีพ
อาการ
ชัก
แบบดิ้นสะเปะสะปะ
ตามองไม่เห็น, หูไม่ได้ยิน
การระบาด
พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย
การรักษา
จิตบำบัดแบบประคับประคอง
การทำพฤติกรรมบำบัด
Illness Anxiety Disorder หรือ Hypochondriasis ผู้ป่วยจะหมกมุ่น และกลัวว่าตนเองจะป่วยเป็นโรคร้ายแรง
การระบาด
พบในเพศชายและเพศหญิงเท่าๆกัน และพบในช่วงอายุ 20-30 ปี
การรักษา
ใช้จิตบําบัดกลุ่ม
ควรนัดผู้ป่วยมาตรวจอย่างสม่ำเสมอ ไม่นัดห่างมาก
อาการ
มีความวิตกกังวลสูงเกี่ยวกับสุขภาพ และหมกมุ่นเกี่ยวกับการเจ็บป่วย จะแสดงให้เห็นอย่างน้อย 6 เดือน
ผู้ป่วยปฏิบัติต่อพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพมากเกินไป เช่น การตรวจเช็คอาการซ้ําๆ เกี่ยวกับอาการของโรค หรือการแสดงการ หลีกเลี่ยงต่อการปรับตัวที่ไม่ถูกต้อง เช่น หลีกเลี่ยงการนัดของแพทย์
การพยาบาลผู้ป่วย Somatoform Disorders
สร้างสัมพันธภาพให้ผู้ป่วยยอมรับพยาบาลทั้งในด้านบุคลิกภาพ และความรู้ความสามารถ
ดูแลอาการทางกายโดยตั้งอยู่บนข้อเท็จจริง
ให้ผู้ป่วยบอกความรู้สึกว่าเขารู้สึกอย่างไร และให้ระบายความรู้สึกนั้นออกมา เพื่อให้ผู้ป่วยได้ ระลึกรู้ความรู้สึก และความต้องการของตนเองมากกว่าที่จะไปมุ่งอยู่ที่อาการเจ็บป่วยทางร่างกาย
ช่วยผู้ป่วยให้ได้พัฒนาวิธีการที่เหมาะสมที่จะพูดระบายความรู้สึกและความต้องการของตนเอง ให้มากขึ้น
จํากัดพฤติกรรมของผู้ป่วย โดยการเฉยเสียเมื่อเขาบ่นหรือมุ่งความสนใจไปที่อาการทางกาย และให้แรงเสริมทางบวกเมื่อเขามีพฤติกรรมที่เหมาะสม
ให้การพยาบาลด้วยความเสมอต้นเสมอปลาย
หันเหความสนใจของผู้ป่วยไปที่การเข้าร่วมกิจกรรมบำบัด
8.ไม่ตอกย้ำหรือตำหนิติเตียนเกี่ยวกับปัญหาหรือความคับข้องใจของผู้ป่วย