Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดและหลักการการพยาบาลแบบประคับประคอง - Coggle Diagram
แนวคิดและหลักการการพยาบาลแบบประคับประคอง
ความหมายของการดูแลแบบประคับประคอง
หมายถึง การดูแลตามความต้องการของ ผู้ป่วยที่ไม่อาจรักษาโรคให้หายขาดได้ ซึ่งการดูแลจะรวมถึงการดูแลทางด้านจิตใจ สังคมและจิตวิญญาณ ตามความต้องการของผู้ป่วยและครอบครัว
การช่วยให้ผู้ป่วยสบายขึ้น ทรมานน้อยลง แม้โรคนั้นจะรักษาไม่หาย
แพทย์ พยาบาล ญาติ ศาสนา วัฒนธรรม สามารถช่วยบรรเทาอาการปวด ความทุกข์ ความวิตกกังวลลงได้
เป้าหมายคือ เพิ่มคุณภาพชีวิต บรรเทาอาการช่วยเหลือครอบครัวเมื่อสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก (Bereavement care) เพื่อคง ความสามารถในการทําหน้าที่
หลักการพยาบาลแบบประคับประคอง
การควบคุมความปวดและอาการหลักอื่น ๆ ที่ ก่อให้เกิดความทุกข์ ความไม่สบาย การมีอาการต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิดความทุกข์ ความไม่สบายเกิดขึ้น กลัวหรือกังวลว่าจะเกิดขึ้น ทําให้ผู้ป่วยเกิดความวิตกกังวลและใช้เวลาไปกับการเฝ้าระวัง รวมถึงเป็น การกีดกันการเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรม หรือสัมพันธ์กับบุคคลอื่น
Key element of palliative care
Patient population
Patient and family centered care
Attention to relief of suffering
ประกอบด้วย การสื่อสารทําความเข้าใจ (communication) การวินิจฉัยโรค การพยากรณ์โรค แนวทางการรักษาที่มีอยู่ การตั้งเป้าหมายการรักษา (goal clarification) การวางแผนล่วงหน้าเกี่ยวกับการรักษาวาระสุดท้ายของชีวิต (ประกอบด้วย advance care plan, advance directives) การจัดการกับโรค (disease management) การดูแลอาการทางกาย (symptoms control) การดูแลจิตใจ จิตสังคม จิตวิญญาณ (psycho-social-spiritual care)
แนวคิดการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองในผู้ป่วยระยะท้ายของ WHO
จุดเน้นในการดูแล คือ ผู้ป่วยและครอบครัวที่ถือว่าเป็น จุดศูนย์กลางของการดูแล
เป็นการดูแลแบบองค์รวม ที่เน้นการบรรเทาความทุกข์ทรมาน ในทุกด้าน
มีความต่อเนื่องในการดูแล
เป็นการดูแลแบบเป็นทีม
เน้นส่งเสริมระบบสนับสนุนการดูแล
เป้าหมายในการดูแลเพิ่มคุณภาพ ชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว
สิ่งสําคัญควรพิจารณา
ด้านร่างกาย การดูแลช่วยเหลือเพื่อบรรเทาอาการเจ็บและปวด และทุกข์ทรมาน
ด้านจิตใจ ต้องการความอบอุ่นไว้วางใจ ให้กําลังใจ มั่นใจว่าไม่ถูกทอดทิ้ง
ด้านสิ่งสนับสนุนทางสังคมให้การดูแลด้วยความอบอุ่นปลอดภัยจาก บุคลากรวิชาชีพ และจากผู้ดูแลในครอบครัว ต้องการสิ่งอํานวยความสะดวก สภาพแวดล้อมที่ดี
ด้านจิตวิญญาณ ต้องการความมีศักดิ์ศรี ผู้รับบริการทุกคนต่างก็เป็นผู้ที่มีเกียรติ มี สถานภาพในสังคม
หลักการดูแลแบบประคับประคองจนถึงวาระท้ายของชีวิต
ด้านร่างกาย จะประเมินจากอาการไม่สุขสบาย ความสามารถ ใน การทํากิจกรรมของผู้ป่วยเป็นหลัก
การดูแลด้านจิตใจ ภาวะซึมเศร้า ภาวะวิตกกังวล ภาวะสับสน
การดูแลด้านสังคม
เมื่อบุคคลเจ็บป่วยย่อมส่งผลกระทบต่อแง่มุมทางสังคมของชีวิต โดยเฉพาะผลกระทบต่อ ครอบครัวและสังคมของผู้ป่วย
การดูแลด้านจิตวิญญาณ
ความต้องการของผู้ป่วยระยะสุดท้ายในมิติจิตวิญญาณเกี่ยวข้องกับปรัชญาชีวิต เป้าหมายชีวิต หรือสิ่งที่มีค่าสูงทางจิตใจ
สิ่งสําคัญของการดูแลแบบ Palliative Care
Palliative Care ไม่ได้เป็นการเร่งหรือชว่ ยให้ผู้ป่วยเสียชีวิตเร็วกว่าการดําเนินโรคเองตาม ธรรมชาติ และไม่ใช่การใช้เครื่องมือหรือความรู้ทางการแพทย์เพียงเพื่อยื้อความทรมานของผู้ป่วยโดย ไม่เพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย การยื้อชีวิตของผู้ป่วยอาจจะทําในกรณีเดียวเท่านั้นคือ เป็นความ ต้องการของผู้ป่วยเอง