Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ ๑ มโนทัศน์ แนวคิดการดูแลประคับประคอง - Coggle Diagram
บทที่ ๑ มโนทัศน์ แนวคิดการดูแลประคับประคอง
ความหมาย
การช่วยให้ผู้ป่วยสบายขึ้น ทรมานน้อยลง แม้โรคนั้นจะรักษาไม่หาย มีแต่จะทรุดลงตามลำดับ
วัฒนธรรม สามารถช่วยบรรเทาอาการปวด ความทุกข์ ความ วิตกกังวลลงได้
ปัจจุบัน แพทย์ พยาบาล ดูแลผู้ป่วยที่โรคลุกลามไปมากจนไม่อาจรักษาได้ ด้วยสัมพันธภาพที่ดีระหว่างแพทย์ พยาบาลกับผู้ป่วยและญาติ ทำให้เข้าใจ ความทุกข์และความกังวลของผู้ป่วยและครอบครัว
ปฏิบัติโดยการนำความเชื่อด้านจิตวิญญาณมาผสมผสานการดูแลโดยการนำหลักปฏิบัติ ของศาสนา วัฒนธรรม ความเชื่อมาช่วยเยียวยาจิตใจผู้ป่วยได้เป็นอย่างดี
แนวคิดการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองในผู้ป่วยระยะท้าย ของ WHO เน้น 6 ด้าน
3) มีความต่อเนื่องในการดูแล
4)
เป็นการดูแลแบบเป็นทีม
2) เป็นการ
ดูแลแบบองค์รวม ที่เน้นการบรรเทาความทุกข์ทรมาน ในทุกด้าน
5) เน้นส่งเสริมระบบสนับสนุนการดูแล
1) จุดเน้นในการดูแล คือ ผู้ป่วยและครอบครัวที่ถือว่าเป็น จุดศูนย์กลางของการดูแล
6) เป้าหมายในการดูแลเพิ่มคุณภาพ
ชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว
หลักการดูแลแบบประคับประคอง
การสื่อสารทำความเข้าใจ
(communication) การวินิจฉัยโรค
การพยากรณ์โรค แนวทางการรักษาที่มีอยู่ การตั้งเป้าหมายการ
รักษา (goal clarification)
การวางแผนล่วงหน้าเกี่ยวกับการรักษาวาระสุดท้ายของชีวิต
( ประกอบด้วย advance care plan, advance directives)
การจัดการกับโรค ( disease
management)
การดูแลอาการทางกาย (symptoms control)
การดูแลจิตใจ จิตสังคม จิตวิญญาณ
(psycho-social-spiritual care)
เริ่มตั้งแต่การจัดการกับโรคที่เจ็บป่วยรักษาไม่หายขาดโดยมุ่งเน้นในการให้การดูแลรักษาถึงความต้องการต่าง ๆ ของผู้ป่วยและครอบครัว ตลอดช่วงเวลาของการป่วยและในช่วงท้ายของชีวิต
Key element of palliative care
Patient population : เป็นผู้ป่วยทุกกลุ่มอายุที่มีความเจ็บป่วยอาการ หรือการบาดเจ็บที่เรื้อรัง หรือคุกคามชีวิต
Patient and family centered care : มีความเคารพความเป็นหนึ่งเดียวของผู้ป่วยและ ครอบครัว
Attention to relief of suffering : เป้าหมายเบื้องต้นของการดูแลแบบประคับประคอง คือการป้องกันและการบรรเทาความทุกข์ที่มีอยู่มากมายจากโรคและการรักษาและความทุกข์ทรมานที่ตามมา
List disease : โรคที่คุกคามต่อชีวิต
4 . Pulmonary and Heart disease
Multiple trauma patient
Renal replacement therapy
Infectious disease: HIV/AIDS
Neurological disease : Stroke
7 Pediatric
Cancer
Aging/Dementia
การพิจารณาการดูแลแบบประคับประคอง
2 ด้านจิตใจ
ต้องการความอบอุ่นไว้วางใจ ให้กำลังใจ มั่นใจว่าไม่ถูกทอดทิ้ง มีผู้ให้ความสนใจ เข้าใจ
พร้อมที่จะอำนวยความ
สะดวกต่าง ๆ รวมถึงไดรับการดูแลอย่างดีที่สุดจากผู้ดูแลที่ไว้วางใจได
3 ด้านสิ่งสนับสนุนทางสังคม
ต้องการสิ่งอำนวยความสะดวก สภาพแวดลอมที่สะอาด ไม่รบกวนจากแสง เสียง สิ่งกระตุ้นต่างๆ
รับทราบข้อมูลข่าวสารทางสังคมที่น่าสนใจ ได้พบเพื่อน ญาติที่รักใคร่รวมถึงบุคคลที่รอคอย สัตว์ที่เคยเลี้ยงด้วยความรักผูกพัน
1.ด้านร่างกาย
ดูแลช่วยเหลือเพื่อบรรเทาอาการเจ็บและปวด และทุกข์ทรมาน
4 ด้านจิตวิญญาณ
ต้องการความมีศักดิ์ศรี ต้องการความเคารพนับถือ
การใช้หลักการทางศาสนาในการทำหน้าที่ของผู้ให้คำปรึกษาบางครั้งอาจ
รู้สึกเครียดและทุกข์ไปกับภาวะทุกข์ของผู้รับบริการและครอบครัว
หลักการดูแลแบบประคับประคองจนถึงวาระท้ายของชีวิต
2 ด้านจิตใจ
ภาวะวิตกกังวล
1.ภาวะซึมเศร้า
ภาวะสับสน
3 ด้านสิ่งสนับสนุนทางสังคม
ความรักและความผูกพันของผู้ป่วยกับสมาชิกในครอบครัว
ผู้ดูแลผู้ป่วย (Caregiver)
บทบาทของผู้ป่วยในครอบครัว
ที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม
เครือข่ายทางสังคมและการสนับสนุนทางสังคม
ความต้องการของครอบครัว
1.ด้านร่างกาย
1.ประเมินอาการรบกวนต่างๆ
ประเมินPPS เพื่อ
ประเมินสมรรถนะของผู้ป่วย
ให้การพยาบาลตามระดับ PPS
ประเมินESAS (Emotional Symptom Assessment Scale) ใช้ประเมินเพื่อติดตามอาการรบกวนต่างๆ
ประเมินPain scoreเพื่อทราบระดับความรุนแรง
2.การจัดการอาการรบกวนโดยใช้ยา
3 การจัดการอาการรบกวนโดยโดยไม่ใช้ยา
นวดผ่อนคลาย แช่มือ แช่เท้าลดปวด
สมาธิบำบัดธรรมะบำบัด หัตถบำบัด
4 ด้านจิตวิญญาณ
ความต้องการที่จะปฏิบัติกิจกรรมด้านศาสนาที่ตนเองนับถือ เป็นสิ่งที่จำเป็นที่จะคงไว้ในเรื่องความ
ผูกพันกับ พระเจ้าของแต่ละบุคคล เพื่อให้ได้รับการให้อภัย ความรัก ความหวัง ความไว้วางใจ
ความหมายและเป้าหมาย สูงสุดหรือความต้องการที่จะปฏิบัติในสิ่งที่ตนเองคิดว่าดีและหลีกเลี่ยงสิ่งที่ชั่ว