Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ กับสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์,…
บทที่ 3 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
กับสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
อาณาจักรสุโขทัย 1781-1981
พ่อปกครองลูก
กษัตริย์เปรียบเสมือนพ่อของครอบครัวใหญ่
*โครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจของอาณาจักรสุโขทัยเป็นเศรษฐกิจการเกษตร
*โครงสร้างสังคม
(1) ชนชั้นปกครอง กษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการ พระภิกษุสงฆ์
(2) ชนชั้นที่ถูกปกครอง สามัญชนหรือไพร่ และทาส
อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ปี1893 – 2310 417 ปี
ปัจจัยที่ทำให้กรุงศรีอยุธยาเรืองอำนาจ
ตั้งอยู่ใกล้เมืองท่าชายฝั่งทะเล ทำให้ทำการค้าได้สะดวก
มีแม่น้ำไหลผ่าน ทำให้เพราะปลูกข้าวได้ดี
3.การที่จักรวรรดิเขมรและอาณาจักรสุโขทัยตกต่ำลง
โครงสร้างเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
*มีการแยกกิจการทหารออกจากกิจการพลเรือน ได้แก่
สมุหนายก เป็นหัวหน้าราชการฝ่ายพลเรือน
สมุหพระกลาโหม เป็นหัวหน้าราชการฝ่ายทหาร
แต่ในยามสงครามทั้ง 2 ฝ่าย ต่างต้องร่วมกันรบ
•กรมวัง ใช้ชื่อว่า ธรรมาธิกรณ์
•กรมคลัง ใช้ชื่อว่า โกษธิบดี
•กรมนา ใช้ชื่อว่า เกษตราธิการ
•กรมเวียง ใช้ชื่อว่า นครบาล
แบ่งเป็น 2 ชนชั้น
ชนชั้นผู้ปกครอง
2 ชนชั้นผู้ถูกปกครอง
ระบบไพร่ เป็นส่วนหนึ่งของระบบศักดินา เป็นรากฐานให้กับระบบเศรษฐกิจ ไพร่สม ไพร่หลวง ไพร่ส่วย
*การปฏิรูปองค์การทางสังคม
ระบบศักดินา=มาตราวัดลำดับชั้นทางสังคม
*พระเจ้าตากสินโดยการช่วยเหลือของ
สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก
-เจ้าพระยาสุรสีห์
สามารถผนึกรัฐไทยขึ้นเป็นเอกภาพอีกครั้งหนึ่ง
กรุงธนบุรีเป็นราชธานี
พระราชกรณียกิจ รัชกาลที่ 1-10
*รัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงได้รับยกย่องว่าเป็นนักปฏิรูปเปลี่ยนแปลงประเทศ จากแบบเก่ามาสู่แบบใหม่ ทรงเป็นผู้นำในการปรับปรุงขนบธรรมเนียมประเพณี ระบบสังคม และ ระบอบการปกครองของไทยให้ทันสมัยทัดเทียมอารยประเทศ เช่น ทรงยกเลิกประเพณีการเฝ้าแหนแบบโบราณ มาเป็นการยืนถวายบังคมแบบตะวันตก ทรงยกเลิกการไต่สวนพิจารณาคดีแบบจารีต นครบาลมาเป็นการไต่สวนพิจารณาคดีในศาลแบบปัจจุบัน ทรงยกเลิกระบบทาสได้อย่างละมุนละม่อม ทรงจัดการศึกษาแผนใหม่ ทรงตั้งโรงเรียนหลวงขึ้นทั้งในพระบรมมหาราชวังและตามวัดต่างๆ โปรดให้ ปรับปรุงการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ เช่น การประปา การรถไฟ และการไปรษณีย์-โทรเลข ทางด้านศาสนา ทรงสร้างและบูรณะปฏิสังขรณ์วัดวาอารามต่างๆ •เลิกทาส •เสด็จประพาสต้น
รัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ได้แก่
ได้ทรงพยายามที่จะทดลองการปกครองแบบประชาธิปไตย ดุสิตธานี
มีเสรีภาพทางด้านความคิด
บรรยากาศการเมืองภายนอก ส่งผลต่อความคิดของคนไทย
สร้างความรู้สึกเรื่องชาตินิยม
เกิดกบฏ ร.ศ. 130 เพื่อทำการเปลี่ยนแปลง แต่ไม่ประสบความสำเร็จ
ประเทศสยามเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
•จัดตั้งมหาวิทยาลัย
รัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
นโยบายเปิดประตู – สนธิสัญญาปี พ.ศ. 2398(สนธิสัญญาเบาวริ่ง)
อง “เปิดประเทศ” และทำให้ทันสมัย
เป็น พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย ด้วยพระอัฉจริยภาพในด้านดาราศาสตร์และวิทยาศาสตร์ โดยพระองค์ทรงการคำนวณการเกิดสุริยุปราคาเต็มดวงได้อย่างแม่นยำ
รัชกาลที่ 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
ได้แก่
พระราชทานรัฐธรรมนูญ
ความเสียสละของพระองค์ต่อการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง จากจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปเป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญนั้น ถือเป็นพระคุณอันล้นพ้นของชาวไทยทุกคนที่ได้ทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยามพุทธศักราช2475
ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญถาวร ฉบับแรกของไทย
รัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเห็นความสำคัญของการศึกษาเป็นอย่างมาก และโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท แต่งหนังสือ จินดามณี เป็นเล่มที่สอง
•ความรู้บนฝาผนังวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร
•ยุบเลิกการค้าของหลวง และเก็บภาษี
•หนังสือจินดามณีเล่มที่สอง
มีระบบราชการเป็นกลไกการเก็บภาษี (ระบบเจ้าภาษีนายอากร)=ชาวจีน
*รัชกาลที่ 8 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลได้เสด็จพระราชดำเนินกลับประเทศไทย 2 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2481 และปี พ.ศ. 2488 ถึงแม้จะทรง เป็นยุวกษัตริย์ แต่ทรงประกอบพระราชกรณียกิจที่ทรงมีต่อประชาชนชาวไทยได้อย่างดียิ่ง ทรงโปรดที่จะ เสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมราษฎรอยู่เสมอๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเสด็จพระราชดำเนินสำเพ็ง เพื่อทรง เยี่ยมประชาชนชาวจีนและอินเดียในบริเวณนั้น เป็นผลให้ความแตกแยกระหว่างประชาชนชาวไทยและจีน ซึ่งมีขึ้นก่อนหน้านั้นระงับไปได้ด้วยพระปรีชาอันสามารถ
รัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระองค์ทรงมีพระปรีชาสามารถด้านศิลปกรรมอย่างยิ่งในการนำบทละครเก่ามาทรงแต่งใหม่ เช่น รามเกียรติ์ อุณรุท และอิเหนา รวมถึงยังทรงพระราชนิพนธ์บทพากย์โขนอีกหลายชุดอีกด้วย
รัชกาลที่ 9 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย
•โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 4,810 โครงการ
•ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
พระราชลัญจกรประจำรัชกาลที่ 9
เป็นรูปพระที่นั่งอัฐทิศอุทุมพรราชอาสน์ ประกอบด้วยวงจักร กลางวงจักรมีอักขระเป็น "อุ" หรือ "เลข 9" รอบวงจักรมีรัศมีเปล่งออกโดยรอบ เหนือจักรเป็นรูปเศวตฉัตร 7 ชั้น ฉัตรตั้งอยู่บนพระที่นั่งอัฐทิศ แปลความหมายว่า มีพระบรมเดชานุภาพในแผ่นดิน องค์พระราชลัญจกรนี้เป็นตรากลมรีรูปไข่แนวตั้ง กว้าง 5 เซนติเมตร สูง 6.7 เซนติเมตร
พระราชทานนาม “ราชภัฏ”คนของพระราชา
รัชกาลที่ 10 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนยากไร้
•สร้างโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร ทรงสนพระราชหฤทัยในการศึกษาของเยาวชนในประเทศไทย โดยทรงสนับสนุนและพระราชทานทุนการศึกษาให้กับผู้ที่มีฐานะยากจน แต่มีความประพฤติดี มีความสามารถในการศึกษา ให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่น มอบหมายภารกิจให้ราชภัฏเป็นทัพหน้าในการแก้ไขปัญหาสำหรับประชาชนในท้องถิ่น ชาวราชภัฏคือคนในครอบครัว
รัชกาลที่ 1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
ทางด้านศาสนา โปรดให้สังคายนาพระไตรปิฎก พ.ศ. 2331 และจารฉบับทองประดิษฐานไว้ในหอพระมณเฑียรธรรม วัดพระศรีรัตนศาสดาราม นอกจากนี้ยังทรงสร้างและบูรณะปฏิสังขรณ์พระอารามและพระพุทธรูปต่างๆ เป็นอันมาก
ทางด้านวรรณคดีและศิลปกรรม ทรงฟื้นฟูวรรณคดีไทยซึ่งเสื่อมโทรมตั้งแต่กรุงศรีอยุธยาแตกให้ กลับคืนดีอีกวาระหนื่ง ทรงส่งเสริมและอุปถัมภ์กวีในราชสำนัก บทพระราชนิพนธ์ที่สำคัญ เช่น บทละคร เรื่องรามเกียรติ์ เป็นต้น งานทางด้านศิลปกรรมนั้นเป็นผลเนื่องมาจากการที่ทรงบูรณะปฏิสังขรณ์และสร้าง พระอารามเป็นจำนวนมาก เป็นการเปิดโอกาสให้ช่างฝีมือด้านต่างๆ มีงานทำและได้ผลิตงานฝีมือชิ้นเอกไว้
*การปฏิรูปการเมืองและการบริหารในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
การบริหารระดับชาติเปลี่ยนชื่อกรมต่างๆ ของจตุสดมภ์ เป็นดังนี้
นางสาวกนกภรณ์ อินกรัด รหัสนักศึกษา62121202