Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลโรคระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
การพยาบาลโรคระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางหายใจ
ระบบทางเดินอาหารส่วนบน(upper respiratory tract)เป็นระบบทางเดินอาหารส่วนบนเหนือระดับกล่องเสียงขึ้นมาตั้งแต่จมูกถึงกล่องเสียง
กลไกการหายใจ
การหายใจเข้า (Inspiration) กล้ามเนื้อกระบังลมและกล้ามเนื้อระหว่างช่องกระดูกซี่โครงชั้นนอกหดตัว
การหายใจออก (Expiration)การคลายตัวของกล้ามเนื้อกระบังลมและกล้ามเนื้อระหว่างซี่โครงด้านนอก
ระบบทางเดินอาหารส่วนล่าง( lower respiratory tract) ตั้งแต่กล่องเสียงลงไปถึงถุงลม
คออักเสบ (Pharyngitis)
hemolytic streptococcus Gr A
อาการและอาการแสดง
ไข้ อ่อนเพลีย เจ็บคอไอ เบื่ออาหาร
ภาวะแทรกซ้อน
ไซนัสอักเสบหูชั้นกลางอักเสบไข้รูมาติก โรคหัวใจูมาติก
การรักษาตามอาการ
โดยให้ยาลดไข้ยาแก้ไอดูแลให้ได้รับสารนำสารอาหารอย่างเพียงพอ ให้ยาปฏิชีวนะพวกเพนนิซิลิน
Sinusitis ไซนัสอักเสบ
อาการ
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ
– แบบเฉียบพลันจะมีอาการคัดจมูกน้ำมูกไหลไอคล้ายอาการ จมูกอักเสบแต่หนักกว่า และถ้ามีน้ามูกเขียวนานกว่าสิบวันแล้ว ยังไม่หายมีคัดจมูกมากปวดศีรษะ(ซึ่งในเด็กเล็กๆจะบอก ยาก) ปวดหน้าผากปวดแก้มอาจเป็ นอาการของโรคส่วน อาการไข้จะมีหรือไมมีก็ได้่
– แบบเรื้อรังมีการอักเสบของไซนัสต่อเนื่องมากกว่า 12 สัปดาห์ จนทำให้รูเปิดไซนัสบวมและตัน ส่วนอาการจะยังมีน้อยลงอาจ เหลือเพียงคัดจมูกตอนกลางคืนและไอตอนเช้าไมหายสักทีมีน้ำมูกเป็นๆหายๆ คล้ายเด็กที่เป็นภูมิแพ้กินยาแก้อักเสบ อาการจะดีขึ้นแต่พอหยุดยา เชื้อซึ่งอยู่ในไซนัสที่ขับออกไม่ หมด ทำให้กลับมาเป็นใหม่ต้องกลับมากินยาแก้อักเสบเป็น ระยะๆ
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ ในไซนัสอักเสบเฉี ยบพลันใช้ยาประมาณ10-14 วัน และในรายที่เป็นไซนัสแบบเรื้อรังต้องกินยาประมาณ 3-6 อาทิตย์
ในรายที่เป็นภูมิแพ้จะต้องรักษาจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ด้วยยา รับประทานหรือยาพ่นด้วย เพื่อเปิดรูของไซนัส
ส่วนรายที่เป็นเรื้อรังอาจต้องใช้การผ่าตัดเปิดรูไซนัสดวยกล้องซึ่ง มักจะทำเฉพาะในเด็กโตหรือในเด็กที่ได้รับยาปฏิชีวนะติดต่อกันเป็น เวลา 6 เดือนแล้วยังมีปัญหา
การล้างจมูกด้วยน้ำเกลือเป็นการรักษาอีกทางที่สาคัญและช่วยทำให้หายเร็วขึ้นเพราะน้าเกลือจะช่วยล้างน้ำมูกในจมูกออกไป ไซนัสจะขับน้ำมูกที่คั่งค้างในโพรงออกมาได้ดีขึ้นที่สำคัญระหว่างป่วยหรือเพิ่งหายใหมๆ่ ควรงดว่ายน้า
ไข้หวัดใหญ่(Influenza)
เชื้อที่สำคัญInfluenza A, B
สายพันธุ์ได้แก่A (H1N1), A (H1N2), A (H3N2),A(H5N1)
อาการ
ไข้ปวดศีรษะเจ็บคอปวดเมื่อยกล้ามเนื้อไอแห้งๆคัดจมูกน้ำมูก ไหล มีอาการรวดเร็วและอยู่นาน 6-10 วัน
อาการแทรกซ้อนที่สำคัญ–ปอดบวม
การแพร่เชื้อ
1 วันก่อนมีอาการ จนถึงหลังมีอาการ 3-5 วัน ในเด็กแพร่ได้นาน 7 วัน
ต่อมทอนซิลอักเสบ (Tonsillitis)
พยาธิสภาพ
ต่อมทอนซิลโตและแดงจัด อาจพบแผนสีขาวปกคลุมบร่ิเวณต่อม ทอนซิล
อาการและอาการแสดง
ไข้สูงอ่อนเพลีย เจ็บคอ กลืนอาหารลำบากเบื่ออาหาร ไอบ่อย ตรวจพบ ลิ้นขาวเป็นฝ้า คออักเสบแดง ต่อมทอนซิลโตแดง มีหนองปกคลุมต่อมน้าเหลืองบริเวณคอโต และกดเจ็บ
ภาวะแทรกซ้อน
หูชั้นกลางอักเสบปอดอักเสบไตอักเสบเฉียบพลันไข้รูมาติก โรคหัวใจรูมาติก
การรักษา
• ตามอาการ โดยให้ยาปฏิชีวนะ ยาลดไข้ ยาแก้ปวด
• ผาตัดต่่อมทอนซิล ในกรณีที่เป็นเรื้อรังมากกว่า 4 ครั้งต่อปี
หูชั้นกลางอักเสบ Otitis media (OM)
ส่องดูในหูมีการเปลี่ยนแปลงจะสังเกตเห็นหลอดเลือดบวมแดง
อาการ
มีอาการเฉียบพลัน,ปวดหู, การได้ยินลดลง, ได้ยิน เสียงในหู,เวียนศีรษะ
–เด็กเล็ก(ทารก) เกาหูดึงหู,เบื่ออาหาร ร้องไห้นอนดิ้นกลิ้งไปมา
–เด็กโต ร้องไห้งอแง, การได้ยินลดลง
หูข้างขวาจะบวมบวม มีหนอง
หูข้างซ้ายปกติ
การดูแลรักษา
ระบายหนองออก
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนการเป็นซ้ำ
ให้ยาลดอาการปวด
ให้ความรู้ในการดูแลเด็กเพื่อป้องกันโรค
ให้ยาปฏิชีวนะ
ไข้หวัด (Common Cold, Nasopharyngitis, Acute
Rhinitis)
พยาธิ
มีการหลั่ง Acetylcholine
อาการแสดง
ตัวร้อนมีไข้สูงมีน้ำมูกไหลเจ็บคอ ไอ จาม
ภาวะแทรกซ้อน
การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง Otitis media ไซนัส
การรักษาตามอาการ
ยาลดไข้แก้ไอลดน้ำมูก
ไอกรน(Pertussis)
จะสร้างท็อกชินไปเกาะติดที่cillated epitheliumของทางเดินหายใจ
ทำให้เกิดการอักเสบและการตายของเยื่อบุepithelium ที่small bronchi ทำให้เกิด bronchopneumonia และการคั่งของสารคัดหลั่งทำให้เกิด bronchiolar obstruction ปอดแฟบ
ระยะติดต่อคือระยะ 3 สัปดาห์แรกที่เป็ นโรคนี้มีระยะฟักตัว7-10 วัน
การติดเชื้อแบคทีเรีย bordetella pertussis
อาการและอาการแสดง
catarrhal stage 1-2 สัปดาห์มีอาการติดเชื้อระบบทางเดิน หายใจส่วนบนที่ไมรุนแรง
spasmodic cough 2-4 สัปดาห์ไอมากๆเป็ นชุดจนอาเจียน หลังไอมีเสียงหายใจเข้ายาวๆดังวู๊ป(woop cough)
convalescent stage นาน 1-2 สัปดาห์
ภาวะแทรกซ้อน
ปอดอักเสบ emphysema pneumothorax otitis media
การรักษา
รักษาตามอาการโดยเฉพาะหลีกเลี่ยงการไอ
การกำจัดเสมหะ
แยกเด็ก5 วันเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
การให้ออกซิเจน
ให้erythromycin 50 มก./กก./วันนาน 14 วัน
คอตีบ(Diphtheria)
เชื้อcorynebacterium diphtheria ระยะฟักตัว1-6 วัน
พยาธิสภาพ
ถ้ามีจานวนมากอาจอุดกั้นทางเดินหายใจ
ท็อกซินเข้ากระแสเลือดและระบบน้าเหลืองและกระจายไปทั่วร่างกาย
ทำให้เกิดการทำลายเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ โดยเฉพาะกล้ามเนื้อหัวใจ เส้นประสาท ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
ไฟบริน น้ำเหลืองเข้ามาในบริเวณนี้และเกิดเป็นแผนเยื่่อสีขาวปนเทา เรียก patch เกาะที่บริเวณต่อมทอนซิล หลอด กล่องเสียง
เชื้อจะปล่อยท็อกซินออกมาทาลาย การตายของ epithelial cell
อาการและอาการแสดง
พิษจากท๊อกซิน:ไข้เจ็บคอปวดเมื่อยปวดศีรษะ
หายใจลำบากหายใจเสียงดัง
จะมีอาการเป็นหวัดและไอประมาณ 2-3วัน
คอตีบบริเวณจมูก (nasal diphtheria)
คอตีบบริเวณคอหอยหรือต่อมทอนซิล: bull neck
คอตีบบริเวณกล่องเสียง (laryngeal diphtheria)
การวินิจฉัย
ขูดแผนไปย้อมสีพบรูปร่่างเหมือนตัวหนังสือจีนติดสีน้าเงิน
Acute streptococcal pharyngotonsillitis มีแผนสีขาวที่เขี่ยหลุดง่าย
Infectious mononucleosis แผนเยื่อสีขาวคล้ายนม่ ลอกออกง่าย
มักอยู่บนทอนซิล
ภาวะแทรกซ้อน
ทางเดินหายใจอุดตัน กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ ประสาทอักเสบ(neuritis)
การรักษา
ให้ยาaqueous procain penicillin G เข้ากล้ามเนื้อและ
ยา แอนตี้ท๊อกซิน (diphtheria antitoxin: DAT)
กายภาพบำบัดทรวงอก
การดูดเสมหะ
กลุ่มอาการครุ๊ป (Croup syndrome)
พบบอยในเด็ก่ 6 เดือนถึง3 ปี
การอุดตันบริเวณกล่องเสียง (Laryngeal obstruction) ทำให้มีอาการ
ไอเสียงก้อง(Barking cough)
หายใจมีเสียงดัง(Stridor)
อาจมีอาการหายใจลำบากหน้าอกบุ๋ม(Suprasternal retraction)
เสียงแหบ (Hoarseness of voice)
สาเหตุ
จากการติดเชื้อบริเวณกล่องเสียง
ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสชนิด Parainfluenza viruses
พยาธิสภาพ
บวมของทางเดินหายใจ มีส่ิงคัดหลั่ง มีการหด เกร็งของกล้ามเนื้อทำให้ทางเดินหายใจอุดตัน มักเกิดบริเวณ ฝาปิดกล่องเสียง
อาการและอาการแสดง
ไข้ต่ำๆน้ำมูกเจ็บคอ การอักเสบจะลุกลามไปที่กล่องเสียง บริเวณสายเสียง ท าให้มีเสียงแหบบวม และแคบลง เวลา หายใจเข้าจะเกิดเสียง Stridor อาการหายใจลำบาก
การวินิจฉัยอาการ
ภาพถ่ายรังสีpencil sign
แยกโรค
Epiglotis
Spasmodic croup
Bacterial tracheitis
การรักษาตามอาการ
โดยให้ออกซิเจนในรายที่หายใจลำบาก
ให้ยาลดการบวมของทางเดินหายใจ(adrenaline, corticosteriod)
ให้ยาปฏิชีวนะ
ให้ความชื้นให้เพียงพอในรายที่ดื่มน้ำไม่ได้่
อาจต้องให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อน
การอักเสบของหูชั้นกลาง
ปอดอักเสบ
โรคหลอดลมฝอยอักเสบ (Acute bronchiolitis)
พบบอย่ ในช่วงอายุ6เดือน– 1 ปีส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อ
ไวรัสRSV (Respiratory syncytial virus) อาจพบมีการติดเชื้อ Mycoplasma pneumoniae
พยาธิสรีรวิทยา
การอักเสบบริเวณ Bronchiolesบวม อุดตันทาให้เกิดถุงลมแฟบ Atelectalsis เป็นหย่อมๆ ร่างกายขาดออกซิเจน หายใจหอบมากขึ้นในเด็กเล็กอาจหยุดหายใจได้
อาการและอาการแสดง
ไข้ต่ำๆและมีอาการหวัดนำมาก่อน 2-3 วัน มีอาการหายใจ เร็ว หายใจหอบ และมีอาการหายใจลำบาก
ตรวจร่างกายพบ
การดึงรั้งของทรวงอกอาจมีปีกจมูกบานเคาะปอดได้ยิน เสียงโปร่ง (Hyperresonance) ฟังเสียงหายใจเบาลงอาจ
พบเสียง Rhonchi, Wheezing
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ
ยาละลายเสมหะ
ให้ออกซิเจนที่มีความชื้นสูง
ยาขยายหลอดลม (epinephrine,beta 2 agonist)
หลอดลมอักเสบ (Bronchitis)
ไวรัส
Streptococcus pneumonia Staphylococcus aureus
H. influenza
พยาธิสภาพ
หลอดลมมีการอักเสบบวม เซลที่สร้างมูกมีขนาดใหญ่เพิ่มจำนวนขึ้น ทำให้มีการสร้างมูก เพิ่มมากขึ้น อุดกั้นทางเดินหายใจ
อาการและอาการแสดง
ส่วนใหญ่จะเป็นหวัดนำมาก่อน 3-4 วัน แล้วจะมีอาการไอมาก ระยะแรกจะไอแห้งๆ ต่อมาจึงมีเสมหะ ได้ยินเสียง Rhonchi
การรักษา
ให้ดื่มน้ำมากๆ
ให้ยาปฏิชีวนะ กรณีติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน
จัดให้พักผ่อนให้เพียงพอ
ทำกายภาพทรวงอก
ปอดบวม หรือปอดอักเสบ(Pneumonia)
การอักเสบของเนื้อปอดชั้นในสุดทำให้หลอดลมฝอยส่วนปลายสุด และ ถุงลมปอดเต็มไปด้วยExudates ทาให้ปอดไมสามารถรับออกซ่ิเจนได้ เพียงพอ
อาการและอาการแสดง
ไข้สูงไอ มีอาการหายใจเร็วหายใจหอบ หน้าอกบุ๋มปีกจมูกบาน ฟังปอดจะได้ยินเสียง Crepitation, Rhonchi อาจพบเสียงWheezing
การรักษา
ให้ออกซิเจน
ให้ยาลดไข้
ให้ยาฆ่าเชื้อ
ให้น้ำให้เพียงพอ
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่งโดยการดูดเสมหะ
ทำกายภาพทรวงอกร่วมกับการให้ยาขับเสมหะ
หอบหืด (Asthma)
ป็นความผิดปกติที่มีการอักเสบเรื้อรังของทางเดินหายใจ ซึ่งเกิด จากเซลล์และสารที่เกี่ยวข้องหลายชนิด
เป็นผลทาให้เกิดภาวะหลอดลมไวเกิน (hyperresponsiveness)
มีการบีบเกร็งของหลอดลม(bronchospasm)ทำให้ทางเดินหายใจตีบแคบ ก่อให้เกิดภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจ
พยาธิสภาพ
การบวมของผนังหลอดลม (swelling of the airway wall)• การบวมของผนังหลอดลม (swelling of the airway wall)
การสร้างเสมหะมากขึ้นในหลอดลม(chronic mucous plug
formation)
ภาวะหลอดลมหดตัว(acute broncho constriction
airway wall remodeling
(fibrosis)
อาการ
หายใจไม่สะดวก (breathlessness)
แน่นหน้าอก (chest tightness)
หายใจมีเสียงวี้ด(wheeze)
อาการไอ
การวินิจฉัย
อาการทางคลินิก
การตรวจร่างกาย และ/หรือ
จากข้อมูลประวัติ
การทดสอบสมรรถภาพปอด
การรักษา
Glucocorticosteroid
Long-acting inhaled 2-agonist (LABA)
Leukotriene modifers
Sustained-release theophyllines
วัณโรคปอดPulmonary TB
อาการและการติดเชื้อ
ความเสี่ยงในการดาเนินโรคเป็นวัณโรค เด็กอาจได้รับเชื้อ จากผู้ใหญ่ในช่วง 1-2 ปี แรกถ้าเด็กอายุน้อยกว่า1 ปีติดเชื้อ ร้อยละ40-50 เด็กอายุมากกว่า 1 ปีร้อยละ10-15 และ ตลอดชีวตที่เหลือมีโอกาสติดเชื้อ ร้อยละ10
การวินิจฉัย
ซักประวัติการสัมผัสโรค และอาการของเด็กซึ่งบ่งบอกว่า เป็นโรควัณโรคเช่น ไข้น้ําหนักลดเบื่ออาหารไอเรื้อรัง
การทาการทดสอบผิวหนัง อ่านผลที่48 และ 72 ชั่วโมง
การถ่ายภาพรังสีปอด
การรักษา
หากแพทย์พบว่าผู้ใหญ่ที่เป็นแหล่งโรคดื้อต่อยา INH สามารถ ให้ยาRifampicin เป็นเวลา4 เดือนหรือยาRifampicin ร่วมกับยา Pyrazinamide ทุกวันเป็นเวลาติดต่อกัน 2 เดือน
หลังได้ยาครบ 2 สัปดาห์ไม่ต้องแยกเด็ก
ยา INH (Isoniazid) ขนาด 5-10มิลลิกรัม/กิโลกรัม/วัน สูงสุดไม่เกิน 300 มิลลิกรัม/วันโดยให้รับประทานวันละ 1 ครั้ง ตอนท้องว่าง โดยมักจะแนะนำให้เด็กรับประทานก่อนนอนทุก วันติดต่อกัน 6 เดือน
นัดมาตรวจอาการต่อเนื่อง ทุกเดือนและหลังได้ยาครบนัดทุก 3 เดือนและ 6 เดือนจนครบ2 ปี
สรุปการรักษาโรคทางเดินหายใจ
ให้ยาสเตียรอยด์ลดการอักเสบบวมCorticosteroid
ให้สารน้ำดื่ม
ยาลดไข้Relived Fever
ยาขยายหลอดลม Bronchodilator
ยาแก้ไอขับเสมหะExpectorants
เคาะปอด ดูดเสมหะChest therapy Percussion, Suction
ล้างจมูกNose wash