Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจร่างกาย, นศพต.กรพิน หิมรัตน์ เลขที่1
นศพต.กรรณิกา โชติพงศ์ เลขที่…
การตรวจร่างกาย
-
การตรวจลำคอ🗣
เทคนิคการตรวจ
-
การคลำ
-
ภาวะผิดปกติ
-
-
-
คลำต่อน้ำลาย ( parotid gland , submaxillary gland ,
sublingual gland ) โต บวม กด เจ็บ
การตรวจคอจะตรวจการทำงานของกล้ามเนื้อ sternocleidomastoid และ trapezius เทคนิคการตรวจที่ใช้คือ การดู การคลำ
-
-
-
การตรวจตา
เทคนิคการตรวจ
การดู
-
-
-
-
ลูกตา(eyeball)
ตำแหน่งของลูกตา และเปลือกตาดูความชุ่มชื้น
ดูความนูนของลูกตาสังเกตดูว่าลูกตาโปนมากกว่าปกติหรือไม่
-
-
-
การคลำ
ลูกตาeyeball
การคลำลูกตาเพื่อประเมินความนุ่ม โดยให้ผู้ใช้บริการหลับตา ผู้ตรวจใช้ปลายนิ้วชี้และนิ้วกลางคลำเหนือเปลือกตาทั้งสองข้าง สังเกตความนุ่ม แข็ง ปกติจะนุ่ม
-
-
การตรวจทรวงอกและปอด🫁
เทคนิคการตรวจ
การฟัง
การฟัง3 อย่าง คือ การฟังเสียงหายใจ (breath sound)
การฟังเสียงพูด(voice sound) และการฟังเสียงผิดปกติ (aaventtious sound)
-
การฟังเสียงพูด (voice sound) เปล่งออกมาจากลำคอเสียงพูดที่ได้ยิน
โดยใช้หูฟังเรียก vocal resonanceทำเมื่อคาดว่ามี pleural effusion, lung mass, pneumothorax
ความผิดปกติ
-
-
Wnisper เป็น vocal resonance กระซิบโดยไม่เปล่งเสียง
ในปอดที่ปกติจะไม่ได้ยินเสียงกระซิบดังกล่าว ในภาวะ consolidation ของปอดจะไต้ยินเสียกระซิบนั้น
-
การคลำ
-
คลำการขยายตัวของทรวงอก (ปอด) (oxpansion of thorax or lung) ด้านหลังสังเกตการเคลื่อนไหวของนิ้วหัวแม่มือ
ที่เลื่อนออกจากกระดูกสันหลัง ด้านหน้านิ้วหัวแม่มือทั้งสองวางทอดไปตาม coscl margnปลายนิ้วหัวแม่มีออยู่ที่ phod proces
สังเกตการดันขยายของฝ่ามือทั้งระยะทางและความเท่ากันการเคลื่อนที่ออกจากจุดถึงกลางของนิ้วหัวแม่มือให้ผู้ใช้บริการหายใจเข้าลึก
การคลำ tactile (vocal)fremitus การสั่นสะเทือนที่เกิดจกลมหายใจ (tactle) tactle fremius รวมการคลำการลั่นสะเทือนจากลมและการพูด
การคลำ tactle femiusให้ผู้ใช้บริการนับ 1 2 3 ด้วยความดังเท่ากันตลอด สังเกตความรู้สึกสั่นสะเหืนของฝ่ามือที่วาง
-
-
การดู
รูปร่างของทรวงอก ความโค้งของกระดูกซี่โครง กระดูกไหมลาร้า
กระดูก sternum ดูความหนา ดูความกว้าง หรือเส้นผ่าศูนย์กลาง
-
-
-
-
-
-
การตรวจหัวใจ [Heart]
เทคนิคการตรวจ
การดู
ภาวะปกติ สีผิวทรวงอกเหมือนสีผิวกาย ไม่มีรอยโรคหลอดเลือดดำไม่โป่งพอง พบ apical mpluse
หรือ เห็นการของหัวใจแต่อาจไม่เห็นตำแหน่งที่มีการเต้นนี้ได้ ในกรณีที่ทรวงอกหนาหรือเต้านมใหญ่มาก
-
การคลำ
คลําจะใช้ส่วนต่างๆ ของมือ เช่น ฝ่ามือบริเวณฐานของนิ้วมือ
(metal metocarpa) ปลายนิ้ว หรือฝ่ามือส่วนส้นมือ(heel of pam)
ภาวะปกติapex bea คลําได้กวา้งประมาณ 1-2 เซนติเมตรซี่โครงที่5
ข้างซ้ายไม่เกินแนว mid clavicular line บริเวณอื่น ๆ ของ precordium จะไม่พบการเต้นชัดเจน
ภาวะผิดปกติ apex beat เลื่อนจากตำแหน่งปกติ และกว้างกว่าปกติ
แสดงถึงหัวใจห้องล่างอาจมีหัวใจโตหรือ hypertophy การคลำพบ haeve
การเคาะ
ภาวะปกติ ริมซ้ายของหัวใจจะอยู่ไม่เกินแนว mind clavicular line
และริมขวาจะเกินขอบขวาของ Sterum เล็กน้อยเท่านั้น
การฟัง
ภาวะปกติ จะได้ยินเสียงหัวใจอย่างน้อย 2 เสียง คือ s1 หรือเสียงหัวใจเสียงที่1(ตรงกับชีพจรที่คลำที่หลอดเลือดแครอดิต)
และ s2หรือเสียงหัวใจเสียงที่2 otic กับลิ้น pumonic ปิดไม่พร้อมกัน จึงอาจได้ยินเป็นเสียง s2เมื่อให้หายใจเข้าเสียง splt s2 จะหายไป
ภาวะผิดปกติในผู้ใหญ่ เสียง click เสียงฟูหรือ mumur และเสียงเสียดสี หรือ friction rub
ผู้ที่เป็นโรคหัวใจ การได้ยิน s3 ถือว่าผิดปกติ เรียก s3 galop สำหรับ s4 หรือpresystolic gallop,
Cick เป็นเสียงสูงและสั้นคล้ายมีการประทุ,Mumur หรือเสียงฟู เป็นเสียงที่เกิดจากการสั่นสะเทือน
เสียงหัวใจเกิดจากลิ้นของหัวใจเมื่อลิ้นไมทรัลเเละไตรคัสปิด ปิดจะเกิดเสียง lub การปิดของลิ้นเอออร์ติดและลิ้นพุลโมนิคจะเกิดเสียงdub
-
-
การตรวจศีรษะ💀
เทคนิคการตรวจ
-
การคลํา
ผู้ตรวจยืนด้านหน้าของผู้ใช้บริการ ใช้ปลายนิ้ชี้
นิ้วกลาง และนิ้วนาง คลําวนเบาๆให้ทั่วศีรษะโดยเริ่มจากด้านหน้า ไล่ไปจนทั่วถึงท้ายทอย อาจคลําต่อมน้ําเหลืองบริเวณท้ายทอย (Occipital lymph node) ด้วย ในเด็กควรคลําดูรอยต่อของกระดูกกะโหลกศีรษะ (sagital suture) ว่าแยกห่างจากกันหรือเกยซ้อนกัน หรือกระหม่อมยุบลงไปหรือไม่ ปกติจะคลําไม่พบก้อน ไม่พบต่อมน้ําเหลือง
-
การตรวจช่องท้อง🤰🏻
เทคนิคการตรวจ
การเคาะ✊
ตรวจหาสารน้ำในช่องท้อง
การตรวจการเปลี่ยนที่ของเสียงเคาะทึบ (Shifting dullness) : สารน้ำจะเปลี่ยนไปอยู่ที่ต่ำสุดเสมอตามแรงโน้มถ่วง
-
-
การเคาะตับ
เคาะแนวเส้นกลาง MCL.โดยเริ่มจากหน้าท้องด้านล่างต่ำกว่าสะดือจะมีเสียงโปร่ง
ค่อยๆเคาขึ้นบนจนได้ขอบล่างของตับซึ่งมีเสียงทึบ เคาะจากบริเวณหน้าอกจะมีเสียงโปร่ง ค่อยๆเคาะต่ำลงจบพบขอบบนของตับ
-
การเคาะม้าม
ผู้ถูกตรวจนอนตะแคงขวายกมือหนุนใต้ศีรษะ เคาะทรวงอกด้านซ้ายจากบนลงล่าง จากช่องซี่โครงที่7-11แต่ละช่องซี่โครงเคาะไล่จาก
anterior axillary line หรือไปposterior axillary line ปกติพบเสียงทึบของม้ามได้ที่ซี่โครง9 หรือ10 amid axillary line ซ้ายส่วนช่องซี่โครงที่ 11 จะโปร่ง
-
การคลำ 🤲🏻
การคลำม้าม
ใช้มือซ้ายดันจากด้านหลังของผู้ป่วยในระดับชายโครงซ้าย มือขวาวางบนหน้าท้อง
ใช้นิ้วตั้งฉากกับชายโครงด้านซ้ายเริ่มคลำจากด้านล่างแล้วค่อยๆเลื่อนขึ้นข้างบน
จนปลายนิ้วพบขอบม้ามซึ่งยื่นออกมาใต้ชายโครง
-
-
-
การคลำหน้าท้อง
ทำได้โดย
การคลำมือเดียว
การใช้มือเดียว
ผู้ตรวจต้องนั่งข้างๆคนไข้ ข้อศอกผู้ตรวจควรอยู่ต่ำกว่าระดับหน้าท้องของคนไข้
ถ้าข้อศอกอยู่เหนือหน้าท้องของคนไข้มากจะวางฝ่ามือบนหน้าท้องไม่ได้
การคลำหน้าท้องจะเป็นการคลำด้วยปลายนิ้วมือที่ทิ่มแทงลงบนหน้าท้อง
ซึ่งอาจทำให้จั๊กกะจี้หรือเกิดการเกร็งตัวของหน้าท้องได้ง่าย ทำให้คลำหน้าท้องไม่ได้ดีเท่าที่ควร
-
-
-
-
-
-
-
การตรวจผิวหนัง🤗
เทคนิคการตรวจ
-
การคลำ (Palpation)
- คลำตรวจสอบความหยาบ ความละเอียดของผิวหนัง (Texture)
- คลำตรวจสอบความตึงตัวของผิวหนัง
- คลำตรวจสอบอุณหภูมิ (Tempurature)
-
- คลำตรวจสอบดูลักษณะของรอยโรค
-
-
นศพต.กรพิน หิมรัตน์ เลขที่1
นศพต.กรรณิกา โชติพงศ์ เลขที่ 2
นศพต.กัญญารัตน์ พงษ์สะพัง เลขที่3
นศพต.กุลิสรา คำบุรี เลขที่4
นศพต.เขม พรมมา เลขที่ 7
นศพต.ชิตวรรณ กรินทร์เฉลิม เลขที่ 13
นศพต.ชุติมา รัตนบุรัมย์ เลขที่14
นศพต.พรชิตา วิเศษชาติ เลขที่ 34
นศพต.พิชามญชุ์ อินทรปัญญา เลขที่ 39
นศพต.ภูริชญา พงษ์สนั่น เลขที่ 43
นศพต.มณฑิตา ภิญโญยิ่ง เลขที่ 44
นศพต.ศศิธร สุขศรีงาม เลขที่ 59
นศพต.ศิริรัตน์ วัชนะ เลขที่ 61
นศพต.สุพิชชา คณะพัตร เลขที่ 67