Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินอาหาร, 117030, 117031, 117032, 117033, 117041,…
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินอาหาร
อาการหรือโรคในระบบทางเดินอาหารที่พบบ่อย
ท้องผูก(Constipation)
แผลในทางเดินอาหาร (Peptic Ulcer Diseases, PUD)
ท้องเดิน(Diarrhea)
อาเจียน(Emesis)
ยารักษาแผลในทางเดินอาหาร
ยายับยั้งการหลั่งกรด
Cimetidine , Ranitidine , Famotidine , Nizatidine
อาการข้างเคียง
ปวดศีรษะ คลื่นไส้ ปวดตามกล้ามเนื้อ ผื่นตามผิวหนัง คัน
ข้อจำกัด PPIs
ใช้เวลา 3-5 วันยาให้ฤทธิ์ในการยับยั้งเอนไซม์สูงสุด
ไม่ควบคุมอาการของโรคที่สัมพันธ์กับการหลั่งกรดในช่วงเวลากลางคืน
ยาปกป้องเยื่อบุกระเพาะอาหาร
Sucralfate
เกิดโพลีเมอร์ที่เหนี่ยวข้นและจับกับผนังของทางเดินอาหาร
ไม่มีการดูดซึมยา อาการข้างเคียงจึงพบได้น้อย
การให้ยาควรให้ตอนท้องว่าง
อาจขัดขวางการดูดซึมยาอื่น
ยาลดกรด
Magnesium hydroxide
ผลข้างเคียง
ท้องเสีย
Aluminium hydroxide
ผลข้างเคียง
ท้องผูก
ลดความเป็นกรด , ลดอาการปวดท้อง , แต่ไม่สามารถทำให้แผลหายเร็วขึ้นได้
ข้อดี
เป็นการรวมยาที่ออกฤทธิ์เร็วและช้าเข้าด้วยกัน
หลีกเลี่ยงข้อเสียด้านอาการท้องผูก , ท้องเสีย
ยามีประสิทธิภาพดี และฤทธิ์คงอยู่นานพอสมควร
ข้อควรระวัง
ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา
มีการเปลี่ยนแปลง pH ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงอัตราการเเตกตัวและการดูดซึม
ดูดซับยาบางชนิด , จับกับโลหะบางชนิด
ยาที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพของยาลดกรด
Simethicone , dimethyl polysiloxane
bismuth subsalicylate
algenic acid หรือ sodium alginate
Gaviscon
Gastro-bismol
Air-x
ยาที่มีฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งกรดและปกป้องเยื่อบุกระเพาะอาหาร
Misoprostol กลุ่ม Prostaglandin
รักษา NSAIDs-induced PU
อาการท้องเดิน ปวดท้อง ทำให้มดลูกหดรัดตัวในผู้หญิงตั้งครรภ์ เนื่องจากอาจทำให้แท้ง
Bismuth subsalicylate
เคลือบกันแผลเปบติก , มีฤทธิ์ต่อต้านเชื้อ H.pylori
อาจพบลิ้นผู้ป่วยมีสีดำหรืออุจจาระดำ
ยากำจัดเชื้อ (H.pylori)
การให้ยาในกลุ่ม PPI 1 ชนิดร่วมกับยาปฏิชีวนะ 2 ชนิด
omeprazole+amoxicillin+clarithromycin
การพยาบาลสำหรับผู้ป่วยที่เป็นโรคแผลในกระเพาะอาหาร
แนะนำวิธีรับประทานยาที่ถูกต้องให้ผู้ป่วยเพื่อให้ได้ผลดีที่สุด
ให้สังเกตลักษณะการขับถ่ายอุจจาระ หากผิดปกติควรปรับเปลี่ยนยา
ยารักษาอาการท้องเดิน
ทำให้จำนวนครั้งของการถ่ายอุจจาระลดลง
เป็นยาที่รักษาตามอาการ
วัตถุประสงค์
เพื่อลดความรู้สึกไม่สบายและความไม่สะดวกต่าง ๆ
ยาที่ฤทธิ์ลดการเคลื่อนไหวของลำไส้
Loperamide HCI
ยาที่ยับยั้งเอนไซม์ enkephalinase
Racecadotril
ลดการหลั่งสารคัดหลั่ง แต่ไม่มีผลต่อการเคลื่อนไหวของทางเดินอาหาร
ยาลดอาการหดเกร็ง
atropine
antimuscarinc agents
hyoscine
chlordiazepoxide
dicyclomine
ปิดกั้น muscarinic receptor
ทำให้การเคลื่อนไหวลดน้อยลง
เด็กอาจมีความไวต่อยานี้สูงมากจนเกิดเป็นภาวะพิษได้
อาจใช้ในผู้ป่วยที่มีอาการปวดท้องเป็นอาการเด่นร่วม
ยาที่มีฤทธิ์ดูดซับ
ผงถ่าน (Activated charcoal)
Kaolin
pectin
Diosmectile
ดูดซับสารพิษและแบคทีเรีย
สามารถดูดซับเอายาตัวอื่นด้วย จึงห้ามใช้ร่วมกับยาตัวอื่น
ยาที่ออกฤทธิ์โดยทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของการขนส่งอิเลคโตรไลท์
สารละลายน้ำตาลและเกลือแร่ ORS , oral rehydration solution
ช่วยเพิ่มการดูดซับ หรือช่วยลดการหลั่งน้ำและเกลือแร่จากลำไส้
ยาที่ดูดซึมน้ำ
polycarbophil
psyllium
ค่อนข้างปลอดภัย ไม่มีผลข้างเคียงต่อระบบต่าง ๆ
มีการสูญเสียเกลือแร่และน้ำไปในอุจจาระมากขึ้น
ข้อเสีย คือ เริ่มออกฤทธิ์ช้า อาจใช้เวลาถึง 48 ชั่วโมง
ยาที่ออกฤทธิ์ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของ Intestinal flora
lactobacillus acidophilus
รักษาผู้ป่วยท้องเสียเรื้อรัง ได้ผลดี
ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของพีเอชในลำไส้ ทำให้ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อก่อโรค
ข้อห้ามใช้สำหรับยาในกลุ่มที่ออกฤทธิ์เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนไหวของลำไส้
ผู้ป่วยที่ท้องผูก
ผู้ป่วยที่ตั้งครรภ์
เด็กอายุน้อยกว่า 2 ปี
ผู้ใหญ่อายุมากกว่า 60 ปี
ผู้ป่วยอุจจาระที่มีสาเหตุจากการอักเสบของลำไส้ที่ติดจากการติดเชื้อ
ผู้ป่วยโรคตับ
การพยาบาลและคำแนะนำ
ยารักษาอาการท้องเดินเป็นยาที่รักษาตามอาการเท่านั้น
การเลือกใช้ยาในกลุ่ม opioids ต้องระมัดระวังไม่ให้เกินขนาดที่กำหนด
งดรับประทานอาหารหมักดองทุกชนิด
ผู้ป่วยท้องเดินส่วนใหญ่จะหายได้เอง
ยารักษาอาการท้องเดินที่ควรเลือกใช้เป็นอันดับแรก คือ ORS เป็นยาที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด
ผู้ป่วยควรพักผ่อนอย่างเพียงพอ รับประทานอาหารอ่อน ย่อยง่าย
ยากระตุ้นการอาเจียนและยาต้านการอาเจียน
การอาเจียนเป็นกลไกในการป้องกันของร่างกาย เพื่อกำจัดสิ่งที่เป็นพิษ ซึ่งร่างกายไม่ต้องการออกไปจากระบบทางเดินอาการ
Central emetics
apomorphine HCI
ยาออกฤทธิ์แรงเเละเร็ว
Local emetics
copper sulfate
Zinc sulfate
ipecac
ออกฤทธิ์เฉพาะที่ ไม่นิยมใช้เนื่องจากเป็นพิษต่อร่างกาย
Muscarinic cholinergic receptor antagonist
scopolamine
อาการข้างเคียง
ปากแห้ง ง่วงนอน มองเห็นภาพไม่ชัด
Histamine H1 receptor antagonist
dimenhydrinate
ยับยั้ง histaminergic
อาการข้างเคียง
ง่วงนอน
cisapride
ทำให้ทางเดินอาหารส่วนบนและลำไส้ใหญ่บีบตัวดีขึ้น
ข้อเสีย
เกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ QT prolongation
Serotonin type3 receptor antagonists
Ondansetron
Granisetron
ยับยั้งที่ 5HT3 receptor
ใช้ในการป้องกันอาการคลื่นไส้และอาเจียนที่เกิดจากการใช้ยารักษามะเร็ง
อาการข้างเคียง
ปวดหัวและท้องผูก
Dopamine D2 receptor antagonists
Metoclopramide , Domperidone
ออกฤทธิ์ทั้งระบบประสาทส่วนกลางและทางเดินอาหาร
อาการข้างเคียง
extrapiramidal effects
มีฤทธิ์เป็น prokinetic
Substance P antagonists
Aprepitant
ป้องกันการเกิดการอาเจียนแบบ acute ,delay หลังได้รับเคมีบำบัดหรือการฉายรังษี
หลักการเลือกใช้ยา
ยารักษามะเร็งและการฉายแสง
ondansetron
การใช้ยาคลื่นไส้อาเจียนในเด็ก
domperidone
การเมารถเมาเรือ
dimenhydrinate
ในหญิงมีครรภ์
pyridoxine , dimenhydrinate
การติดเชื้อในทางเดินอาหาร
metoclopramide
domperidone
การพยาบาล
ระวังการใช้ยาที่เพิ่มความดันในลูกตาแก่ผู้ป่วยโรคต้อหิน
หลีกเลี่ยงการใช้ยา metoclopramide
ห้ามใช้ยาที่มีฤทธิ์เพิ่มการเคลื่อนไหวทางเดินอาหารในผู้ป่วยลำไส้อุดตัน
ยาระบายและยาถ่าย
กลไกการออกฤทธิ์
เพิ่มปริมาณและความนุ่ม เร่งการขับออกของอุจจาระ
ออกฤทธิ์ทั้งโดยตรงและโดยอ้อมต่อลำไส้ใหญ่ ทำให้ลดการดูดซึมน้ำและเกลือ ทำให้เพิ่มปริมาณน้ำในอุจจาระ
เปลี่ยนแปลงลักษณะของอุจจาระ
อาจเพิ่มการเคลื่อนไหวของลำไส้ ทำให้ลดการดูดซึมน้ำและเกลือแร่
จุดประสงค์
เพื่อลดความเจ็บปวดบริเวณทวารหนักในผู้ป่วยหลังผ่าตัด
ช่วยลดอันตรายจากการเบ่งถ่าย
ลดอาการท้องผูกระหว่างตั้งครรภ์หรือหลังคลอด
ใช้เร่งการขับสารพิษออกจากลำไส้
ใช้เตรียมลำไส้ก่อนการผ่าตัด
ยาระบายที่เพิ่มปริมาณกากอาหาร
pysllium seed , Metamucil , methylcellulose
ช่วยเพิ่มกากอาหารหรือปริมาณแก่ลำไส้ ทำให้มีกากเพิ่มขึ้นมีคุณสมบัติดูดซับน้ำ ทำให้อุจจาระอ่อนนุ่ม
ปลอดภัยและคล้ายธรรมชาติ
ไม่ควรรับประทานยาแห้ง ๆ
ยาที่ทำให้อุจจาระอ่อนนุ่ม
Docusate salts
ลดความตึงผิวของก้อนอุจจาระ
ทำให้อุจจาระอ่อนนุ่มลงภายใน 24-48 ชั่วโมง
ใช้ในผู้ป่วยที่ไม่ต้องให้ออกแรงเบ่งเช่น ผู้ป่วยไส้เลื่อน ผู้ป่วยโรคหัวใจ
ยาระบายที่เป็นเกลือ
เกลือของแมกนีเซียม , โซเดียม , โปแตสเซียม
ได้ผลถ่ายภายหลังให้ยาภายใน 3 ชั่วโมง
ใช้ในการทำให้ท้องว่างก่อนการผ่าตัด ฉายรังสี ส่องกล้องที่ลำไส้ใหญ่ กำจัดพยาธิ
อาการข้างเคียงอาจพบการดูดซึมอิออนบางตัวเข้าสู่ร่างกาย
ยาที่มีฤทธิ์กระตุ้นและทำให้ระคายเคือง
Bisacodyl,cascara น้ำมันมะหุ่ง มะขามแขก
ให้ผลภายใน 6-12 ชั่วโมง
ไม่แนะนำให้ใช้กับอาการท้องผูกธรรมดาหรือใช้เกิน 1 สัปดาห์
กระตุ้นให้มีการคั่งของน้ำ
ยาระบายที่ช่วยหล่อลื่นอุจจาระ
น้ำมันแร่ (mineral oil) , น้ำมันมะกอก (olive oil)
เคลือบกากอาหารทำให้อุจจาระอ่อนนุ่มลงและป้องกันการดูดน้ำกลับเข้าร่างกาย
ห้ามใช้ในผู้ป่วยสูงอายุและเด็กเล็ก เนื่องจากเสี่ยงต่อการสำลักของยาลงปอด
ยาสวนทวารหนัก
น้ำสบู่ SSE
ใช้ในกรณีทำความสะอาดลำไส้ก่อนการผ่าตัดหรือก่อนคลอด
ยาระบายชนิดมีแรงดึงน้ำ
lactulose
ช่วยลดการดูดซึมกลับของแอมโมเนีย
อาจทำให้เกิดอาการแน่นท้อง ตะคริว คลื่นไส้ อาเจียน
glycerin
ยาเหน็บทวารหนักจะทำให้อุจจาระภายใน 30 นาที
ออกฤทธิ์โดย osmotic effect ทำให้อุจจาระอ่อนนุ่มและหล่อลื่นทางออกของอุจจาระกระตุ้นให้เกิดการหดตัวของทวารหนัก
ยาที่เพิ่มและเร่งการขับถ่ายอาหารออกจากลำไส้
ยาระบาย(laxative) ยาที่ทำให้อุจจาระเหลวถ่ายได้ง่ายขึ้น
ยาถ่าย (cathartic) ยาที่ทำให้อุจจาระเป็นน้ำ
ข้อห้ามใช้
ผู้ป่วยที่มีอาการทางช่องท้องยังหาสาเหตุไม่ได้
ช่องท้องอักเสบ เช่น ไส้ติ่ง ลำไส้อักเสบ
ระบบทางเดินอาหารอุดตัน หรือมีเลือดออก
ผู้ป่วยที่มีอาการอ่อนเพลียมาก
อันตรายจากการใช้ยาถ่ายนาน ๆ
enterocolitis
เกิดการสูญเสียน้ำ
ภาวะ steatorrhea
สูญเสียแคลเซียม และเกิด osteomalacia
การพยาบาลและคำแนะนำ
ห้ามใช้ยาระบายในผู้ที่ท้องผูก มีอาการปวดท้องโดยไม่ทราบสาเหตุ
ไม่ควรใช้ยาระบายเพื่อลดน้ำหนัก
หากเป็นยาระบายให้รับประทานก่อนนอนเพื่อให้ฤทธิ์ออกตอนเช้า
ไม่ใช้ยาระบายที่มีแมกนีเซียมเป็นส่วนประกอบในผู้ป่วยโรคไต หัวใจ และกล้ามเนื้อ
ควรระวังในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
ห้ามเคี้ยวยา bisacodyl หรือรับประทานพร้อมยาลดกรด
ยาที่ใช้ในการรักษาโรคของระบบทางเดินอาหารอื่น ๆ
ยาช่วยย่อย (Digestant)
เป็นยาที่ช่วยทำให้ขบวนการย่อยอาหารในระบบทางเดินอาหารดีขึ้น
Pancreatic enzyme
pancreatin และ pancrelipase
ใช้รักษาผู้ป่วยที่ขาดน้ำย่อยจากตับอ่อน
ยาขับลม (Antiflatulents)
Asafoetida
simethicone
peppermint oil
ยากระตุ้นให้เกิดความอยากอาหาร
cyproheptadine HCI , Pizotifen
อาการข้างเคียง
ปากแห้ง คอแห้ง คลื่นไส้
ยากดความอยากอาหาร
Fenfluramine , dexfenfluramine
การออกฤทธิ์จะผ่านวิถีทางของซีโรโทนิน
ผลข้างเคียง
ผลต่อระบบประสาทส่วนกลางโดยเฉพาะเมื่อใช้ยานาน ๆ หรือใช้ในขนาดสูง
Bile acids
cholic
chenodiol
ursodiol
ลดการหลั่ง cholesterol
มีพิษต่อตับ