Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ศึกษาและวิเคราะห์ปรัชญาลัทธิจิตนิยม(ldealism) กับปรัชญาการศึกษา - Coggle…
ศึกษาและวิเคราะห์ปรัชญาลัทธิจิตนิยม(ldealism)
กับปรัชญาการศึกษา
2.การจัดการศึกษาแนวคิดปรัชญาลัทธิจิตนิยม
แนวคิดเกี่ยวกับหลักสูตร
เน้นความรู้ด้านมนุษยศาสตร์
การสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของชีวิต
ส่งเสริมให้เข้าใจถึงแบบอย่างที่ดีงามเหมาะสม
สร้างคุณธรรม มโนธรรมและฝึกคิดหาเหตุผล
วิชาที่เป็นแกนกลางของหลักสูตร คือ Language Arts
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนการสอน
เน้นกิจกรรมการฟัง การจดบันทึก การจำ การบรรยาย การค้นคว้าจากตำรา
หัวใจของกระบวนการเรียนการสอนคือห้องเรียนและห้องสมุด
ใช้สัญลักษณ์(ภาษา คณิตศาสตร์ ศิลปะฯลฯ)เป็นสื่อนำไปสู่การเรียนรู้
ครู คือ แม่แบบและแม่พิมพ์
แนวคิดเกี่ยวกับโรงเรียน
สถานที่เสริมสร้างสิ่งแวดล้อมทางความคิดให้แก่ผู้เรียน
แสดงออกเป็นสัญลักษ์
สร้างคนให้เป็นนักศิลปะและนักภาษา
ภาษา ศิลปะ คณิตศาสตร์
แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษากับการพัฒนาคุณธรรม
วิชาที่เกี่ยวข้องกับขนบธรรมเนียมประเพณี
อุดมการณ์และค่านิยมทางสังคมควบคู่ไปกับการอบรมทางจริยธรรม
เน้นจริยศึกษาเป็นพิเศษ
ตัวอย่าง
โรงเรียนที่จัดการศึกษาตามแนวคิดจิตนิยม
โรงเรียนพระปริยัติธรรม
มุ่งสร้างศาสนยาท
สร้างพลเมืองที่ดี
ปลูกฝังเรื่องศรัธากับปัญญา
โรงเรียนวิถีพุทธ
เชื่อว่า
การเรียนรู้ขึ้นอยู่กับการหยั่งเห็น
มุ่งสอน
ความสุขทางใจ มากกว่าวัตถุ
ผู้เรียน
ยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง
โรงเรียนอะเคดามี Academe
เพลโต
ใช้วิธีตั้งคำถาม
ค้นหาความจริงด้วยตนเอง
มหาวิทยาลัยแรกของโลก
1.ปรัชญาลัทธิจิตนิยม (Idealism)
นักปรัชญาลัทธิจิตนิยม
คานท์
จิต
จิตเป็นผู้ให้ความหมาย
จัดระบบของความรู้
เดส์การ์ตส์
จิตคือการคิดได้
เฮเกล
โลกเป็นการหมุนเวียนแห่งจิต
ล๊อค
สสาร
คุณภาพเดิม
คุณภาพอาศัย
เบิร์ดเลย์(Berkeley)
ความจริงจากวัตถุที่เราเห็นเป็นลักษณะเดียวกับวัตถุที่อยู่ในความคิดเรา
ไลบ์นิซ(Leibnize)
สากลจักรวาล
โมนาดจำนวนมาก
ตกอยู่ภายใจโมนาดใหญ่คือพระเจ้า
เพลโต
ผู้ให้กำเนิดลัทธิจิตนิยม
โลกแห่งสสาร
โลกแห่งมโนคติ
กรีน
หลักการและแนวคิดปรัชญาลัทธิจิตนิยม
ความรู้ที่แท้จริง คือ “จิตที่หยั่งรู้”
“จริยธรรมเป็นการเลียนแบบความดีอันสมบูรณ์” ที่มีค่าคงที่ไม่เปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา
โลกและจักรวาลว่าเป็น “โลกแห่งจิต”
สุนทรียะเป็นเครื่องสะท้อนถึงมโนคติ
เป็นลัทธิปรัชญาที่เก่าแก่ที่สุด
องค์ประกอบลัทธิปรัชญาลัทธิจิตนิยม
ญาณวิทยา
ความรู้ที่ได้จากการสัมผัสด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 ไม่ใช่ความรู้ที่แท้จริง
คนจะรู้ได้ด้วยความคิดและเป็นอิสระจากประสบการณ์
ความรู้เกิดจากความคิดหาเหตุผล การวิเคราะห์แล้วสร้างเป็นความคิดในจิตใจ
ความรู้หลายอย่างก่อนๅประสบการณ์ของคนแล้วความรู้จากประสบการณ์บางอย่างก็เชื่อไม่ได้
การรับรู้นั้นเกิดขึ้นในจิตใจเป็นหลักสำคัญ
เหตุผลจะทำให้คนเข้าถึง “แบบ” หรือความรู้ที่แท้จริงได้อย่างถูกต้อง
คุณวิทยา
สุนทรียศาสตร์
ความคิดสร้างสรรค์และอุดมการณ์อันสูงส่ง
ถือเอาอุดมคติเป็นที่ตั้ง
การถ่ายทอดความงาม
จริยศาสตร์
คุณค่าที่ถูกต้องเหมาะสมดีงามนั้นเป็นคุณค่าที่ถาวรไม่เปลี่ยนแปลง
มีแบบแผนที่สมบูรณ์ การอบรมสั่งสอน
เป็นการเลียนแบบความดีอันสมบูรณ์
เรื่องคุณค่าจึงต้องถือหลัก “ดำเนินรอยตามแบบอย่างของอัตตาสมบูรณ์
อภิปรัชญา
จิตมากกว่าวัตถุ
รู้และเห็นความจริงได้ก็ด้วยความคิด(Idea)
นามธรรมมากว่ารูปธรรม
รู้เห็นความจริงได้ด้วยความคิด
สิ่งที่เราเห็นสิ่งที่เราสัมผัสจับต้องได้นั้นยังไม่ใช่สิ่งเหล่านั้นที่แท้จริงเป็นแต่เพียงเครื่องจำลองหรือตัวแทน
5.การจัดการศึกษาแนวคิดปรัชญานิรันตรนิยม
ผู้เรียน
ถือว่าผู้เรียนมีความสนใจใคร่เรียนรู้อยู่แล้ว
ผู้เรียนทุกคนมีโอกาสเรียนเท่าเทียมกันหมด
ใช้หลักสูตรเดียวกันทั้งเด็กเก่งและเด็กอ่อน
โดยมุ่งพัฒนาเป็นรายบุคคล ฝึกฝนคุณสมบัติที่มีอยู่โดยการสอนและการแนะนำของครู
ถ้าเด็กอ่อนเข้าใจช้าก็ต้องฝึกฝนบ่อยๆหรือทำซ้ำกันเพื่อให้ไปถึงมาตรฐานเดียวกันกับเด็กเก่ง
การให้การศึกษาจึงต้องพัฒนาสิ่งที่ผู้เรียนมีอยู่อย่างเต็มที่
มีเหตุผล มีสติ
มีศักยภาพในตัวเองที่สามารถพัฒนาไปสู่ความมีเหตุผล
โรงเรียน
ถือว่าถ้าเกิดการพัฒนาในตัวบุคคลแล้วก็สามารถทำให้สังคมนั้นดีขึ้นด้วย
โรงเรียนจึงเป็นเสมือนตัวกลางในการเตรียมผู้เรียนให้เกิดความก้าวหน้าที่ดีงามที่สุดของวัฒนธรรมที่มีมาแต่อดีต
ไม่มีบทบาทต่อสังคมโดยตรงเพราะเน้นที่ตัวบุคคลเป็นหลักใหญ่
เคร่งครัดในระเบียบวินัยโดยเน้นการประพฤติปฏิบัติ
โรงเรียนจะสร้างบรรยากาศและจัดสภาพแวดล้อมให้มีลักษณะสร้างความนิยมในวัฒนธรรมที่มีอยู่
ครู
เข้าใจเนื้อหาวิชาที่สอนอย่างถูกต้องชัดเจน
มีความคิดยาวไกล
ครูต้องเป็นผู้ใฝ่รู้อยู่เสมอ
เป็นผู้ดูแลรักษาระเบียบวินัย
เป็นผู้นำทางวิญญาณของนักเรียนทุกคน
ควบคุมความประพฤติของผู้เรียน
เป็นแบบอย่างมนการประพฤติปฏิบัติที่ดี
ครูจะต้องรักษาวินัยทางจิตใจ
กระบวนการเรียนการสอน
ฝึกให้ใช้ความคิดหาเหตุผล
โดยอาศัยหลักวิชาที่เรียนรู้ไว้เป็นแนวทางพื้นฐานแห่งความคิด
พัฒนาสติปัญญาหรือเน้นด้านพุทธิศึกษา
ผู้เรียนจะต้องมีความพร้อมทางจิตใจจึงจะสามารถจำสิ่งต่างๆได้
ใช้วิธีท่องจำเนื้อหาวิชาต่างๆ
การเรียนการสอนที่กระตุ้นและหนุนให้เกิดศักยภาพ
จึงต้องมีการอภิปรายถกเถียง ใช้เหตุผลและสติปัญญาโต้แย้งกัน
ครูเป็นผู้นำในการอภิปรายตั้งประเด็นและยั่วยุให้มีการอภิปรายถกเถียงกัน
ผู้เรียนจะได้พัฒนาสติปัญญาของตนได้อย่างเต็มที่
หลักสูตร
กลุ่มศิลปะทางภาษา
ประกอบด้วยไวยากรณ์ วาทศิลป์และตรรกศาสตร์
เป็นเรื่องของการอ่าน การฟัง การพูด
การเขียนและการใช้เหตุผล
ศิลปะการคำนวณ
ประกอบด้วยเลขคณิต วิทยาศาสตร์ ปรัชญา ดาราศาสตร์ และดนตรี
ตัวอย่างที่ใช้แนวคิดจิตนิยม
โรงเรียนที่จัดการศึกษาที่ใช้แนวคิดจิตนิยม
โรงเรียนปริยัตธรรม
โรงเรียน academy เมือง athens
ปรัชญาของเพลโตเป็นปรัชญาสังเคราะห์
โรงเรียนวิถีพุทธ
วิธีการสอนจะมุ่งให้ผู้เรียนแสวงหาความสุขทางใจมากกว่าแสวงหาวัตถุ
ตัวผู้เรียน ครู ยึดตนเองเป็นศูนย์กลางของการสอนมากว่ายึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
การเรียนขึ้นอยู่กับความอย่างหยั่งเห็น
โดยสรุปจะเน้นความรู้ที่ได้จากการฟังและความรู้ที่ได้จากการคิด
หลักสูตรประถมศึกษา พ.ศ. 2503
4.ปรัชญาการศึกษานิรันตรนิยม
จุดมุ่งหมายของการศึกษา
สร้างคนให้เป็นคนที่สมบูรณ์เพราะมนุษย์มีพลังธรรมชาติอยู่ในตัว พลังในที่นี้คือสติปัญญา
จะต้องพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์ให้เต็มที่ เมื่อมนุษย์ได้พัฒนาสติปัญญาอย่างดีแล้วก็จะทำอะไรอย่างมีเหตุมีผล
หลักการ
ควรอนุรักษ์และถ่ายทอดให้ใช้ได้ในปัจจุบันและอนาคต
พลังแห่งเหตุผลของมนุษย์ผนวกกับแรงศรัทธา คือเครื่องมือทางความรู้
หลักการของความรู้ จะต้องมีลักษณะจีรังยั่งยืนอย่างแท้จริง คงที่ ไม่เปลี่ยนแปลง
แนวความคิดพื้นฐาน
ปรัชญาการศึกษาลัทธินี้แบ่งออกเป็น 2 ทัศนะ
เหตุผลและสติปัญญา
ศาสนาโดยเฉพาะกลุ่มศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิค
นิรันตร เชื่อว่าความคงทนถาวรย่อมเป็นจริงมากกว่าสิ่งที่เปลี่ยนแปลง
ปรัชญานิรันตรนิยมมีรากฐานมาจากปรัชญา จิตนิยมและปรัชญาวัตถุนิยม
ความเป็นมานิรันตรนิยม
รับอิทธิพลจาก
กลุ่มวัตถุนิยมเชิงเหตุผล หรอืโทมัสนิยม
เกิดขณะที่โลกมีการพัฒนาอุตสาหกรรม
เกิดการแข่งขันทางการค้า
อลิสโตเติล และ เซนต์ โทมัส อะไควนัส คือผู้เสนอปรัชญา