Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การซักประวัติและการรักษาพยาบาลขั้นต้น, นายสุริยา กงใจเด็ด เลขที่ 126 …
การซักประวัติและการรักษาพยาบาลขั้นต้น
บทบาทพยาบาลในการรักษาโดรคเบื้อต้น
การวินิจฉัยแยกโรคว่าอยู่ในกลุ่มใดใน 3 กลุ่ม
1.กลุ่มอาการที่ต้องช่วยเหลือเบื่องต้นและส่งต่อทันที
2.กลุ่มอาการที่ต้องได้รับการวินิจฉัยเพิ่มเติม
3.กลุ่มอาการที่ต้องวินิจฉัยแยกโรคและให้การรักษาเบื้อต้น
การรักษาโรคเบื้อต้นและการพยาบาล
การประเมินสุขภาพและการแยกโรค
การซักประวัติสุขภาพ 50%
การตรวจร่างกาย 30 %
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ 20 %
ใช้ Medical Model โดยรวบรวมข้อมูล อาการและอาการแสดง
ร่วมใช้กับ Nursing Model/Nursing Framework
การรวบรวมข้อมูล (Data collection)
สัมภาษณ์ประวัติ
การตรวจร่างกาย
การบันทึกข้อมูล
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ/การตรวจพิเศษ & การแปลผล
Differential diagnosis
ปัญหา/โรคที่นึกถึง
First aids/Treatment/Nursing intervention
การวางแผนการรักษา
Follow Up
การติดตามผลการรักษา
แหล่งข้อมูล
1.แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ Primary Source จากผู้รับบริการโดยตรง
2.แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ Secondary Sources จากบุคคลในครอบครัว หรือผู้พบเห็น
อาการ Symtom คือสิ่งที่ผู้ป่วยเล่าให้ฟัง
อาการแสดง Sign สิ่งที่ได้จากการสังเกตและตรวจพบ
หลักการซักประวัติสุขภาพ
1.1 ผู้ซักประวัติ ต้องใช้ทั้งศาสตร์ ศิลป์ และไหวพริบ
1.มีความรู้
2.มีบุคลิกภาพน่าเชื่อถือและศรัทธา
3.มีความมั่นคงในอารมณ์
4.มีทักษะในการพูดและการกระทำ
1.2 สถานที่
1.3 ผู้ป่วย
การซักประวัติ History Takingอาการและอาการแสดงของความเจ็บป่วยที่นำไปสู่การวินิจฉัยโรค
อาการสำคัญ Chief complaint : CC อาการเจ็บป่วยที่ชัดเจนที่สุด
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน Present Illness : PI
OLD CART
Onset Of Symptom การแสดงเริ่มแรกเวลาเป็น
Location Of Problem ตำแหน่งที่เป็น
Duration Of Problem ระยะเวลาที่มีอาการ
Characteristics Of The Patient ลักษณะผู้รับบริการ
Aggravating Factorsปัจจัยกระตุ้นให้อาการแย่ลง
Relieving Factors ปัจจัยที่ทำให้อาการดีขึ้น
Treatment Administered Before Arrival การรักษาที่เคยได้รับมาก่อน
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต Past History : PH
ประวัติครอบครัว Family History : FH
แนวคิดการตรวจร่างกาย Physical Examination
หลักและข้อควรคำนึงในการตรวจร่างกาย
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจจุดประสงค์และขออนุญาติผู้ป่วยก่อน
ทำในที่มิดชิด/แสงสว่างเพียงพอ
ไม่เปิดเผยร่างกายในส่วนที่มิดชิดโดยไม่จำเป็น
ควรมีบุคคลที่ สามในห้องถ้าตรวจเพศตรงข้าม
ท่าต่างๆของผู้ป่วยที่ใช้ตรวจร่างกาย
ท่านั่ง ฟังปอด
ท่านอน ตรวจช่องท้อง
การตรวจพิเศษ ตรวจภายในสตรีมีครรภ์
ท่ายืน/เดิน ตรวจการเคลื่อนไหว การทรงตัว ระบบประสาท
การตรวจโดยทั่วไป ผู้ตรวจมักเข้าด้านขวาของผู้ป่วย สะดวกในการเคาะ คลำส่วนต่างๆของร่างกาย
การเตรียมผู้ป่วย
อธิบายจุดประสงค์ในการตรวจและขออนุญาตผู้ป่วย
จัดท่าให้เหมาะกับท่าที่ใช้ตรวจ
ปลดเสื้อผ้าบริเวณที่ต้องการตรวจเท่านั้น
การวัดสัญญาณชีพ
อุณหภูมิ Temperature
ชีพจร Pulse
การหายใจ Respiratory
ความดันโลหิต ฺBlood Pressure
เทคนิคการตรวจร่างกาย
การดู Inspection
การฟัง Auscultation
การเคาะ Percussion
การคลำ Palpation
นายสุริยา กงใจเด็ด เลขที่ 126 นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4