Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Respiratory failure with Pneumonia, นางสาวณัฏฐ์พัชร์ หนูจัน เลขที่ 23 -…
Respiratory failure with Pneumonia
Respiratory failure
ภาวะหายใจล้มเหลว คือภาวะที่ระบบหายใจของร่างกายไม่สามารถทำงานได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกายในการแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งก่อให้เกิดภาวะพร่องออกซิเจนในเลือดและ/หรือการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์
ภาวะหายใจล้มเหลวในเด็ก
Hypoxic respiratory failure เป็นภาวะหายใจล้มเหลวชนิดที่มีภาวะพร่องออกซิเจนในเลือด (PaO2 ต่ำกว่า 60 มม.ปรอท) โดยที่ไม่มีภาวะคั่งของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด (PaCO2
Hypercapnic (ventilatory) respiratory failure เป็นภาวะหายใจล้มเหลวชนิดที่มีการคั่งของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด (PaCO2 มากกว่า 55 มม.ปรอท)
พยาธิสภาพ
ทารกคลอดก่อนกำหนด
เกิดการเเพร่กระจายของเชื้อบริเวณทางเดินหายใจส่วนล่างเเละAlvioli
ร่างกายตอบสนองต่อการติดเชื้อได้เเก่ ไข้ หนาวสั่น WBC เพิ่มขึ้น
เกิดของเหลวในช่องเยื่อหุ่มปอด ทำให้ ไอมีเสมหะ
พื้นที่ในการเเลกเปลี่ยนก๊าซลดลง
ภาวะพร่องออกซิเจน
Respiratory failure
หายใจเหนื่อย
เมื่อเสมหะมีจํานวนมาก
และไม่สามารถขับเสมหะ ด้วยตนเองได้
ทําให้เชื้อโรคลงไปที่
หลอดลมฝอยและถุงลม
Pneumonia
มีการสร้างน้ำเเละเมือกบริเวณถุงลมเเละไหลลงสู่หลอดลมฝอย
1 more item...
โครงสร้างของปอดยังไม่สมบูณ์
RDS
รักษาโดยใช้ PPV
เกิดจากการติดเชnhvจากแบคทีเรup Sputum
(Gram stain)Gram Positive cocci )
โรคปอดมาก่อน
มีประวัติเป็นโรคปอดอักเสบเสบเรื้อรังเเต่กำเนิด
อาการเเละอาการเเสดง
อาการไข้ ไอมีเสมหะ -
หายใจเร็ว และชีพจรเร็ว
หัวโยก หรือปีกจมูกบาน
ชายโครงหรือหน้าอกบุ๋ม
ใช้กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจ เช่น กล้ามเนื้อหน้าท้อง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการเบื้องต้น
ตรวจเสมหะเพื่อหาเชื้อสาเหตุ
การวิเคราะห์ก๊าซจากเลือดแดง ป็นการส่งตรวจเพื่อประเมินภาวะกรดด่างของร่างกายรวมทั้งระดับออกซิเจน (PaO2) และคาร์บอนไดออกไซด์ (PaCO2) ในเลือด
ภาพถ่ายรังสีทรวงอก เพื่อมองหาความผิดปกติหรือการอุดกั้นของทางเดินหายใจ เช่น สิ่งแปลกปลอม ความผิดปกติแต่กำเนิดของทางเดินหายใจ เป็นต้น
การพยาบาล
1.ดื่มน้ำมากๆ หากทานไม่ได้หายใจหอบมากควรให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ และงดการรับประทานเพื่อป้องกันการสำลัก
2.ให้ออกซิเจน หากเหนื่อยมาก มีอาการปากเขียว หรือมีออกซิเจนในเลือดต่ำ
3.หากมีภาวะหลอดลมตีบ หายใจมีเสียงวี๊ดให้ยาขยายหลอดลม อาจทางการพ่นละอองฝอยหรือรับประทาน
4.ยาละลายเสมหะ กรณีเสมหะเหนียว ทานน้ำได้น้อย ในเด็กไม่ควรได้รับยากดการไอ เพราะอาจทำให้เสมหะไปคั่งในปอดมากขึ้นได้ 5.ควรได้รับการบำบัดรักษาที่เหมาะสมโดยทำกายภาพทรวงอก เช่น เคาะปอด หรือการฝึกการไอให้ได้คุณภาพ เพื่อระบายเสมหะออกจากปอดและหลอดลม หากเอาเสมหะออกไม่ได้ควรได้รับการดูดเสมหะ โดยเฉพาะในเด็กเล็ก
Pneumonia
เป็นภาวะที่มีการอักเสบในบริเวณเนื้อปอดบริเวณหลอดลมฝอยส่วนปลาย ถุงลมและเนื้อเยื่อรอบๆถุงลม อันเกิดจากการติดเชื้อ ส่วนใหญ่เป็นเชื้อแบคทีเรียและไวรัสแตกต่างตามอายุอาจพบเชื้ออื่น เช่น วัณโรค หรือเชื้อราได้ พบว่าในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี สาเหตุของปอดอักเสบเกิดจากเชื้อไวรัส 42 %
หลักการดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน
Circulation การดูเเลระบบไหลเวียนให้เพียงพอ
ควรพยายามป้องกันไม่ให้เกิดภาวะพร่องออกซิเจนของเนื้อเยื่อ
รักษาสภาวะการไหลเวียนโลหิตทั่วร่างกายให้คงที่และเพียงพอ โดยการประเมินทางคลินิก ได้แก่ อัตราและความแรงของชีพจร ความดันโลหิต capillary refill ปริมาณปัสสาวะ เป็นต้น
Demand ลดความต้องการการเเลกเปลี่ยนก๊าซของร่างกาย
ลดการสร้างคาร์บอนไดออกไซด์ของร่างกาย เพื่อลดภาระงานของระบบหายใจ เช่นการเช็ดตัวลดไข้ ลดการกระตุ้นเด็ก การให้ยาระงับปวดหรือยาคลายกล้ามเนื้อระหว่างใช้เครื่องช่วยหายใจ
Breathing or Respiratory support การช่วยหายใจ ควรเริ่มให้การบำบัดด้วยออกซิเจน ร่วมกับประเมินความจำเป็นของการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก โดยการติดตามอาการทางคลินิก การเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ ระดับ SpO2 และแรงในการหายใจอย่างใกล้ชิด
Evaluation การประเมินเเละติดตามอาการ
ประเมินการตอบสนองของผู้ป่วยเป็นระยะโดยให้ความสำคัญกับสัญญาณชีพ ระดับ SpO2 แรงในการหายใจ และการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาทเป็นหลัก
ควรพิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจอย่างรวดเร็วหากมีอาการแย่ลงหรือไม่ดีขึ้นภายใน 2-4 ชม. เพื่อป้องกันภาวะอ่อนล้าของกล้ามเนื้อหายใจ ซึ่งอาจนำไปสู่ภาวะหายใจหยุดเต้นได้ง่ายในเด็ก
Airway evaluation การจัดการทางเดินหายใจ
ควรประเมินและให้ความช่วยเหลือในอันดับแรกเพื่อให้ทางเดินหายใจเด็กเปิดโล่ง
การจัดท่าเพื่อเปิดทางเดินหายใจ
ช่วยดูดเสมหะโดยเฉพาะสิ่คัดหลั่งในจมูกของเด็กเล็กที่หายใจผ่านทางจมูกเป็นหลัก
ในกรณีที่เด็กมีระดับความรู้สึกตัวลดลงควรประเมินความจำเป็นของการใส่ท่อช่วยหายใจร่วมด้วย
นางสาวณัฏฐ์พัชร์ หนูจัน เลขที่ 23