Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความเป็นมาของราชภัฎ - Coggle Diagram
ความเป็นมาของราชภัฎ
ราชภัฎเชียงใหม่ใต้วิถีล้านนา
ตลาดนัดชุมชนตามเศรษฐกิจพอเพียง
เป็นโครงการที่จัดขึ้นหน้าศาลาพระพุทธรูปจตุรทิศเป็นการเปิดพื้นที่ให้จาหน่ายสินค้าพื้นเมืองล้านนาและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
เรือนโบรานหลวงอนุสารสุรทร หรือ อนุสารสุรทร
สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ในวาระครบรอบ 125 ปี
หลวงอนุสารสุนทร คหบดีผู้บุกเบิกการค้าเชียงใหม่
สร้างขึ้นเพื่อเป็นเรือนคู่แฝดกับ”เรือนคาเที่ยง”
เป็นต้นตระกูล”ชุติมา และนิมมานเหมินทร์”
ศูนย์ศิลปะและวัฒนธรรม
แสดงข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับความเป็นล้านนาความเป็น เมืองเชียงใหม่
ศาลาพระพุทธรูปจตุรทิศ
เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปประจามหาวิทยาลัย
พระพุทธรูปประจามหาวิทยาลัย ได้แก่ พระพุทธรูปมหาคุณากรประดิษ
ศูนย์ใบลานศึกษา มีหน้าที่ในการสารวจ รวบรวม บริวรรตและเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับคัมภีร์ใบลาน
ความเป็นมาของมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ททรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมลงพระปรมาภิไชยในพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ.2547
เมื่อวันที่ 10 มิ.ย.2547 อันมี
ผู้ที่ร่วมกันเตรียมการจัดตั้งโรงเรียน
พ.ศ.2466
มหาเสวกโท พระยาสุรบดินทร์สุรินทรภาไชย (อุปราช)
อามาตย์ เอกพระยายัพพิริยะกิจ (สุมหเทศาภิบาล)
อามาตย์ ตรีหลวงวิสห์ดรุณการ (ศึกษาที่การมณฑลพายัพ)
โรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนิยบัตรมณฑลพายัพ
โรงเรียนฝึกหัดครูมูล จังหวังเชียงใหม่
โรงเรียนฝึกหัดครูเชียงใหม่
วิทยาลัยครูเชียงใหม่
สถาบันราชภัฏเชียงใหม่
ได้พัฒนามาจากโรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมประจามณฑลพายัพ
สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ.2467
ลงมือปลูกสร้างอาคารหลังหนึ่ง
เริ่มสร้าง 1 เม.ย.2467ด้วยเงินทุนที่ยืมมาจากเงินรายได้เพียง 60 บาท
การปลูกสร้างได้แล้วเสร็จ5 มิ.ย.2467
เปิดรับนักเรียนเข้าอยู่ประจำ1 พ.ค.2467
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่กับสถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
รัชกาลที่ 1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกการปกครองและการบริหารฟื้นฟูสถาบันกษัตริย์การจัดองค์กรทางสังคม ระบบศักดินา สักเลกไพร่ด้านศาสนา มีการสังคายนาพระไตรปิฎก ด้านเศรษกิจ การค้ากับจีน สร้างเมองราชธานี
รัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเศรษฐกิจเงินตราและการค้าขยายตัวธุรกิจการค้าของราชสานัก ขาดทุนพระปรีชาสามารถ ด้านศิลปกรรม
รัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
ยุบเลิกการค้าของหลวงแลก็บภาษี(38 ชนิดมีระบบราชการเป็นกลไหการเก็บภาษี ชาวจีนหนังสือจีนดามณีเล่มที่สอง
รัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
นโยบายเปิดประตู-สนธิสัญญา พ.ศ.2398(สนธิสัญญาเบาวริ่ง)พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย
รัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จครองราชย์เมื่อปี พ.ศ.2411ขณะพระชนมายุ 15 พรรษาผู้สาเร็จราชการแทน :พระยามหาศรีสุริยวงศ์(ช่วงขุนนาค)
รัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพยายามที่จะทดลองการปกครองแบบประชาธิปไตยดุสิตธานี มีเสรีภาพ บรรยากาศสการเมืองภายนอก สร้างความรู้สึกเรื่องชาตินิยม,เกิดกบฏ ร.ศ.130 ประเทศสยามเข้าสู่สงครามโลกครุ้งที่หนึ่ง
รัชกาลที่ 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานรัฐธรรมนูญชาวไทยทุกคนที่ได้ทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยามศักราช 2475 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญ ฉบับแรก เมื่อวันที่ 10 ธ.ค. 2475
รัชกาลที่ 8 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ยุติความขัดแย้งระหว่างชาวไทยและชาวไทยเชื่อสายจีนพระราชปราภในการผลิตแพทย์เพิ่มขึ้น
ัชกาลที่ 9 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ4,810 โครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
รัชกาลที่ 10 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ มหิศรภูมิพลราชวรางกูร กิติสิริสมบูรณ์อดุลยเดช สยามินทราธิเบศรราชวโรดม บรมนาถบพิตร พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนยากไร้สร้างโรงพยาบาลสเด็จพระยุพราชเสด็จพระราชทานปริญญาบัตรกว่า40ปี