Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปรัชญาเศษฐกิจพอเพียง, - Coggle Diagram
ปรัชญาเศษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้
ยึดหลัก 4 มิติ
1.พอมีพอกิน
2.พออยู่พอใช้
3.พออกพอใจ
4.เมื่อมีรายได้ แบ่ง 3
ค่าน้ำ-ไฟ
ค่าจิปาถะ
ค่าโทรศัพท์
5.ยึดความประหยัด
ภาครัฐ
1.ความพอประมาณ
ดำเนินงานตามงบ
ไม่ฟุ้มเฟื่อย/ฟุ้งเฟ้อ/เกินตัว
2.มีเหตุผล
ประหยัด มัธยัสถ์ ใช้งบตามแผน
อาศัยหลักวิชาการพิจารณาอย่างรอบคอบ
3.มีภูมิคุ้มกัน
ระบบติดตามประเมินผล
แผนการบริหารความเสี่ยง
4.ความรู้
ขวนขวย รอบรุ้
บูรณาการภารกิจ บทบาท/หน้าที่
ถ่ายทอดความรู้/สร้างองคืกรการเรียนรุ้
5.คุณธรรม
แผนงานที่เป็นประโยชน์ เป็นธรรม โปร่งใส
6.วัฒนธรรม
เห็นประโยชน์ภูมิปัญญา
แยกแยะเลือรับวัฒนธรรม
รัก/เห็นค่าความเป็นไทย/เอกลักษณ์
สถานศึกษา
ทางสายกลาง มัชฌิมาปฏิปท
า
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกัน
ผสมผสานการปลูก
ระดับของเศษฐกิจพอเพียง
1.บุคคล
2.ก้าวหน้า
กลุ่ม
รวมตัว
แลกเปลี่ยนความคิด
3.ก้าวไกล
เครือข่าย
เน้นความร่วมมือ
หลักการสร้างภูมิคุ้มกันกับเกษตรทฤษฎีใหม่ คือ
จัดการตน
รวมกลุ่ม
เครือข่าย
อัญเชิญมาใช้ครั้งแรกในแผนพัฒนาเศษฐกิจฉบับที่ 9
วิสัยทัศน์แผนพัฒนาเศษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่11 ตรงกับพอเพียงคือสร้างภูมิคุ้มกัน
เป้าหมายของปรัชญาเศษฐกิจพอเพียง
พึ่งตนเองได้ระดับหนึ่ง
อยู่ร่วกับสังคมอย่างมีความสุข
อยู่ร่วมกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
หลัก 3 ห่วง 2 เงื่อนไข สมดุล 4 มิติ
3ห่วง
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันที่ดี
2 เงื่อนไข
1.มีคุณธรรม
ซื่อสัตย์สุจริต
อดทน
เพียร มีสติ
2.นำความรู้
รอบรู้
รอบคอบ
ระมัดระวัง
4 มิติ
1.เศษฐกิจ
ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้
ใช้ชีวิตพอดี
คิด-วางแผน รอบคอบ
เผื่อทางเลือกสำรอง
ไม่เสี่ยงเกินไป
2.สิ่งแวดล้อม
ใช้อย่างประหยัด
เกิดประโยชน์สูงสุด
ฟื้นฟูให้ยั่งยืน
3.สังคม
ช่วยเหลือเกื้อกูล
สร้างความเข้มแข็งครอบครัว-ชุมชน
สามัคคี
4.วัฒนธรรม
รู้คุณค่า
เห็นประโยชน์
แยกแยะและเลือกรับวัฒนธรรม
หลักของปรัชญาเศษฐกิจพอเพียงกับสัปปุริสธรรม 7
1.พอประมาณ
มัตตัญญุตา -รู้จักประมาณตน
อัตตัญญุตา- เป็นผู้รู้จักตน
2.ความมีเหตุผล
ธัมมัญญุตา - เป็นผู้รู้จักเหตุ
อัตถัญญุตา - เป็นผู้รู้จักผล
3.การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
กาลัญญุตา - เป็นผู้รู้จักกาล
ปริสัญญุุตา - เป็นผู้รู้จักบรษัทชุมชน
ปุคคลัญญุตา/ปุคคลปโรปรัญญุตา - เป็นผู้รู้จักบุคคล