Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Asthma - Coggle Diagram
Asthma
ยาที่ผู้ป่วยได้รับ
ยาพ่น Salbutamol และ Budesonide 200mcg (ยาขยายหลอดลม) เมื่อจำเป็น และ 200mcg หนึ่งครั้งในเวลากลางคืน
ยาจะกระตุ้นที่ β2-adrenocepter ในขนาดที่ใช้รักษาจะออกฤทธิ์ที่
β2--adrenocepterของกล้ามเนื้อหลอดลม ถ้าใช้ในขนาดสูงกระตุ้น
(β1-adrenocepter ของหัวใจ การออกฤทธิ์เร็ว
ผลข้างเคียง มีน้อย โดยเฉพาะยาที่ให้โดยการพ่นหรือสูดดม ถ้าใช้รับประทานอาจพบอาการมือสั่น ปวด
ศีรษะ หัวใจเต้นเร็ว เกิดตะคริวที่กล้ามเนื้อ อาจเกิดภาวะโปแตสเชียมในเลือดต่ำกว่า
ปกติอย่างรุนแรง เนื่องจากการใช้ยากลุ่ม β2-agonist อาการอยู่ไม่นิ่ง (hyperactivity) ในเด็ก มีอาการระคายในปากและคอ
การพยาบาล 1.ให้ยาอย่างถูกต้องตามขนาดและวิถีทาง ถ้าให้โดยการพ่นต้องผสมยาในน้ำเกลือใส่ทาง Nebulizer
2.ประเมินสภาพผู้ป่วยหลังให้ยาว่าตอบสนองต่อการให้ยาหรือไม่ โดยสังเกตุอาการและอาการแสดงของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
3.กระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมากๆและดูการได้รับน้ำอย่างเพียงพอ เพื่อช่วยให้เสมหะขับออกได้ง่าย
Telmisartan 40 มก.(ยารักษาความดันโลหิตสูงและลดความเสี่ยงของการเกิดภาวะหัวใจขาดเลือด) หนึ่งครั้งในเวลากลางคืน
การใช้ยา ยา Telmisartan มีวิธีการใช้ ดังนี้
:ใช้ยาตามฉลากและตามคำสั่งแพทย์อย่างเคร่งครัด หากมีข้อสงสัยใด ๆ ควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกรก่อนใช้ยา
:ยา Telmisartan บางยี่ห้ออาจอยู่ในบรรจุภัณฑ์แบบพลาสติก จึงห้ามผู้ป่วยดันยาให้ทะลุออกมาจากแผงยาโดยตรง เพราะอาจทำให้ยาแตกหักได้
:รับประทานยานี้พร้อมอาหารหรือไม่พร้อมอาหารก็ได้ และยังควรรับประทานยาในเวลาเดียวกันของทุกวัน
:ขณะที่ใช้ยานี้ ควรดื่มน้ำตามให้มาก ๆ
:ห้ามให้ผู้อื่นใช้ยานี้ และห้ามใช้ยาของผู้อื่น
:ผู้ป่วยควรรับประทานยาอย่างต่อเนื่องตามที่แพทย์สั่ง แม้ว่าจะรู้สึกดีขึ้นแล้วก็ตาม
ผลข้างเคียงของการใช้ยา Telmisartan
:มีอาการแพ้ยา เช่น ผื่น ลมพิษ อาการคัน ผิวหนังบวมแดงหรือพอง ผิวลอกที่อาจมีไข้ร่วมด้วยหรือไม่มีไข้ร่วมด้วย มีเสียงหวีดขณะหายใจ แน่นหน้าอกหรือบริเวณลำคอ มีปัญหาเรื่องการหายใจ การกลืนหรือการพูด เสียงแหบผิดปกติ อาการบวมบริเวณปาก ริมฝีปาก ลิ้น คอและใบหน้า เป็นต้น
มีสัญญาณของโพแทสเซียมในเลือดสูง ทำให้เกิดอาการ เช่น หัวใจเต้นผิดปกติ ความคิดเห็นเปลี่ยนแปลงไป รู้สึกอ่อนแรง หน้ามืดคล้ายจะเป็นลม เวียนศีรษะ รู้สึกเหมือนมีของแหลมทิ่มหรือชา เหมือนจะหมดสติ หายใจไม่อิ่ม เป็นต้น
:มีสัญญาณของปัญหาเกี่ยวกับไต ทำให้เกิดอาการ เช่น ปัสสาวะไม่ได้ มีการเปลี่ยนแปลงของปริมาณปัสสาวะ ปัสสาวะปนเลือด น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นอย่างมาก เป็นต้น
:เวียนศีรษะหรือหมดสติ :แขนหรือขาบวม
การพยาบาล 1. ดูแลอย่างใกล้ชิดขณะให้ยานี้ วัดความดันโลหิตทุก 2 นาที จนกว่า BP จะคงที่ตามที่ต้องการ และวัดต่อทุก 5 นาทีจนกระทั่งยาหมด
2.ถ้า BP ไม่ลดอาจไขหัวเตียงให้สูงขึ้น แต่ต้องระวังภาวะเลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอเตรียมครื่องใช้ให้พร้อมเพื่อช่วยชีวิตผู้ป่วย เช่น ออกชิเจน ยาที่ช่วยหลอดเลือดหดตัว เป็นต้น
3.บันทึกน้ำเข้า-ออก ดูกระเพาะปัสสาวะ เพราะอาจมีอาการปัสสาวะคั่ง
-
-
-
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Potassium 2.8 (3.5-5.0 mEq/L) K ต่ำ เกิดภาวะขาดน้ำ Creatinine 60 (0.7-1.4 mg/dl) Cr สูง เกิดไตวาย/ไตล้มเหลว C-Reactive Protein (CRP) 31.1 Erythrocyte Sedimentation Rate (ESR) (0 – 15 mm/hr) 110 Haemoglobin (Hb) (13.5-18 g/dl)10.3 Hb ต่ำ เสี่ยงต่อภาวะโลหิตจาง Anemia Haematocrit 0.303 (0.36-0.46 L/l) Hct ต่ำ เสี่ยงต่อภาวะโลหิตจาง Anemia Red Blood Count (RBC) 3.45 (3.8-4.8 x 1012 /l) RBC ต่ำ เสี่ยงต่อภาวะโลหิตจาง Anemia White Cell Count (WCC) 15.1 (4-11 x 109 /l) WCC สูง เกิดจากร่างกายมีการติดเชื้อแบคทีเรีย Neutrophil (Neutro) 10.57 (2 – 7.5 x 109 /l) Neutro สูง เกิดจากร่างกายมีการติดเชื้อแบคทีเรีย
การตรวจพิเศษทางห้องปฏิบัติการ
ผลเอ็กซเรย์ การรวมตัวของปอดที่กลีบล่างขวาของปอด BP 152/82mmHg PR 109 bpm O2Sat 96% ให้ออกซิเจน 3 ลิตรของน้ำตาลในเลือด 4.7mmol/L
ข้อมูลทั่วไป
ผู้ป่วยหญิงอายุ 54ปี การวินิจฉัย Asthma ค่าดัชนีมวลกาย 25.7 กก./ตร.ม. ไปที่แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน (A&E) อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล บ่นว่าหายใจถี่ (SOB : Shorthness Of Breath และไอได้ปกติ
ประวัติการเจ็บป่วย
ผู้ป่วยมีอาการหายใจถี่ (SOB) ในช่วง 2-3 วันที่ผ่านมา และอาการค่อยๆแรงขึ้นเรื่อยๆ ในวันที่เข้ารับการรักษา แน่นหน้าอกมีอาการไออย่างต่อเนื่องและมีเสมหะขาวตั้งเเต่ออกจากโรงพยาบาลครั้งล่าสุด 12 วันที่เเล้ว
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต เป็นโรคเบาหวานและความดันลหิตสูงเมื่อ 8 ปีที่เเล้วและมีประวัติเป็นโรคกระเพาะมาเป็นเวลา 5 ปี สัปดาห์ก่อนวินิจฉัยเป็นโรคหืดหอบ
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว ผู้ป่วยเป็นม่ายตั้งแต่ 6 ปีที่เเล้วและเป็นแม่บ้าน มีลูก 3 คน อาศัยอยู่ในเขตโรงงานและมีแมวอยู่ท่บ้าน ไม่สูบบุหรี่
ไม่ดื่มแอลกอฮอล บิดาและมารดาไม่มีโรคประจำตัว มีญาติเป็นโรคหืบหอบและมักเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วย
การพยาบาล
1.ประเมินการหายใจ ภาวะเขียวคล้ำของริมฝีปาก เล็บมือ เล็บเท้า เพื่อทราบการเปลี่ยนแปลง และช่วยเหลือได้ทันท่วงที
2.ให้ยาพ่นขยายหลอดลมชนิดละอองฝอย เวนโทลินเนบูล (ventolin nebul) สลับกับ เบอราดูออลเนบูล (beradual nebul) ทุก15นาทีตามแผนการรักษา
- ให้ออกซิเจนทางจมูก (cannula)อัตราการไหล 3 ลิตรต่อนาที
- จัดให้ผู้ป่วยพักอยู่บนเตียงเพื่อลดการใช้ออกซิเจน และให้นอนศีรษะสูง 30-45 องศา
5.ประเมินภาวะขาดออกซิเจนซ้ำโดยประเมินจากสัญญาณชีพ และอาการแสดง เช่น หายใจหอบเหนื่อย หายใจเร็ว หายใจถี่ ใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องในการหายใจ ปลายมือปลายเท้ามีสีเขียว (cyanosis) ทุก 15 นาที
-
-
8.อธิบายให้ผู้ป่วย และญาติทราบก่อนให้การพยาบาล และทำหัตถการ เช่น ขณะฉีดยา ขณะเจาะเลือด เปิดโอกาสให้ซักถามเพื่อคลายความวิตกกังวล
9.ให้ข้อมูลการรักษาพยาบาลที่ถูกต้อง สื่อสารกับญาติ และผู้ป่วยด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย ชัดเจนประสานงานกับแพทย์ในการธิบายลักษณะการดำเนินโรคแนวทางการรักษา เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจและลดความวิตกกังวล
พยาธิสภาพในผู้ป่วยหืดหอบที่สำคัญคือ1.กล้ามเนื้อของหลอดลมหนาขึ้น กล้ามเนื้อที่หนาขึ้นจะพบทั้งในหลอดลมขนาดใหญ่และขนาดเล็ก เป็นสาเหตุให้หลอดลมแคบลงกว่าคนปกติเมื่อกล้ามเนื้อหดตัวในขนาดเท่ากัน
- ต่อมมูก (mucous glands ) เพิ่มขึ้น ต่อมสร้างมูกในชั้นเยื่อบุหลอดลม (cpithelial gobletcells) มีปริมาณเพิ่มขึ้น หลั่งมูกออกมาอยู่ในหลอดลมจำนวนมากขึ้น าจจะอุดตันหลอดลมได้เป็นจำนวนมาก
- Reticular besement membrane หนาขึ้น และเส้นเลือดใต้ต่อผนังหลอดลมระดับนี้ จะมีปริมาณเพิ่มขึ้นขยายใหญ่ขึ้น และอาจจะมีการสร้างเส้นเลือดใหม่ ๆ เกิดขึ้น ทั้งหมดนี้ทำให้ผนังหลอดลมหนาขึ้น พยาธิสภาพลังกล่าวจะทำให้หลอดลมทั้งเล็กและใหญ่แคบลง บางแห่งจะอุดตันเกิดความผิดปกติในการระบายอากาศและแลกเปลี่ยนก๊าซก่อให้เกิดความผิดปกติในการตรวจสมรรถภาพปอดดังนี้
3.1 แรงต้านในหลอดลมเพิ่มขึ้น (Raw) ขณะมีการจับหืค โดยเฉพาะแรงด้านในหลอดลมส่วนปลาย (peripheral airway resistance) อาจจะเพิ่มขึ้น แม้แรงต้านรวมในหลอดลม (Raw)และ FEV , จะปกติและผู้ป่วยไม่มีอาการ
3.2 ความเร็วของลมหายใจออกลดลง คือ REF, FEV , ,FEF 2575,, และ FEV/FVC% ลดลงความผิดปกตินี้จะพบในผู้ป่วยหอบหืดที่มีอาการมากกว่าในผู้ป่วยที่ไม่มีอาการ อย่างไรก็ตามในผู้ป่วยที่ไม่มีอาการก็อาจจะพบความผิดปกติใน FEV , ได้
3.3 มีลมค้างอยู่ในปอด แม้จะหายใจออกเต็มที่ ทำให้ความจุส่วน RV เพิ่มขึ้น
3.4 แรงดันออกซิเจนในเลือดแดงต่ำลง ส่วนแรงดันคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดแดงอาจปกติ หรือสูง ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของหลอดลมตีบ การเปลี่ยนแปลงกรด-ด่าง ในเลือดแดงนั้นขึ้นอยู่กับแรงดันคาร์บอนไดออกไซด์
4.กล้ามเนื้อหายใจต้องทำงานเพิ่มขึ้น ทำให้เกิดอาการหายใจลำบากหรือเหนื่อย