Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มะเร็งเม็ดเลือดขาว (Leukemia) - Coggle Diagram
มะเร็งเม็ดเลือดขาว (Leukemia)
การวินิจฉัย
Myeloblast ตั้งแต่ร้อยละ 20 ขึ้นไปในกระแสเลือดหรือในไขกระดูก
ตรวจพบ myeloid sarcoma
ตรวจพบ chromosome ที่มีความจำเพาะต่อ AML
Chronic leukemia
เป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเรื้อรัง โดยเซลล์เม็ดเลือดขาวที่เพิ่มจำนวนมากขึ้นนั้นเป็นเซลล์เม็ดเลือดขาวตัวเต็มวัยมากกว่า
อาการ
อาการเนื่องจากการแทรกซึมของเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาวที่ม้าม
กลุ่มอาการที่เกิดจากความผิดปกติของการเผาผลาญอาหารเพื่อใช้ในการเพิ่มจำนวนของเซลล์มะเร็ง
กลุ่มอาการเนื่องจากการอุดตันของหลอดเลือด
ระยะของCML
chronic phase มี blast เรื้อรัง
blast ในเลือดและไขกระดูก น้อยกว่าร้อยละ15
มี blast และpromyelocyte ในเลือดและไขกระดูกน้อยกว่าร้อยละ 30
มี basophil ในเลือดน้อยกว่าร้อยละ20
จำนวนเกล็ดเลือดเท่ากับ หรือมากกว่า 100x109 /L ยกเว้นภาวะเกล็ดเลือดต่ำ
ไม่พบการแทรกซึมของเซลล์นอกไขกระดูก ยกเว้นตับและม้าม
อาการ
อาการไข้ เหงื่ออกตอนกลางคืน อ่อนเพลีย อยู่ได้ 3-5 ปี
เซลล์เม็ดเลือดขาวมีลักษณะเซลล์ใกล้เคียงกับปกติ
accelerated phase ระยะลุกลาม
blast ในเลือดและไขกระดกู มากกว่าร้อยละ15 แต่ไม่เกินร้อยละ 30
มี blast และpromyelocyte ในเลือดและไขกระดูก มากกว่าร้อยละ 30
มี basophil ในเลือด มากกว่าร้อยละ20
มี clonal evolution
จำนวนเกล็ดเลือดเท่ากับหรือมากกว่า 100x109 /L ยกเว้นภาวะเกล็ดเลือดต่ำ
อาการ
มีไข้ เหงื่ออกตอนกลางคืน น้ำหนักลด
เม็ดเลือดขาวจะแบ่งเป็นเซลล์ตัวอ่อน
เสียชีวิตภายใน 1-1.5 ปี
blastic phase ระยะรุนแรง
Blast (myeloid หรือ lymphoid) ในเลือดหรือไขกระดูก เท่ากับ หรือมากกว่า ร้อยละ 30
มีการแทรกซึมของเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาวนอกไขกระดูก
อาการ
ซีด มีเลือดออก คัน
พบเม็ดเลือดขาวชนิดตัวอ่อนจำนวนมากในเลือดและไขกระดูก
หากเม็ดเลือดขาวมากกว่า 100,000 จะทำให้เกิดการอุดกั้นในหลอดเลือด
เสียชีวิตภายใน 3-6 เดือน
การรักษา
ยาเคมีบำบัด ผลข้างเคียงจากตัวโรคและตัวยาเคมีบำบัดคือ เม็ดเลือดแดงต่ำ เม็ดเลือดขาวต่ำ และเกล็ดเลือดต่ำ
การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิด (Hematopoietic stem cell transplantation)
Acute leukemia
เป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน ซึ่งเชลล์เม็ดเลือดขาวที่เพิ่มขึ้นในกระเเสเลือดเป็นเซลล์เม็ดเลือดขาวตัวอ่อน (immature cells) อาการที่เกิดขึ้นนั้นมักเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเป็นวัน หรือสัปดาห์
ปัจจัยเสี่ยง
ได้สัมผัสสารเคมี เช่น เบนซีน (benzene)
การได้รับรังสี การสูบบุหรี่
โรคทางพันธุกรรมบางชนิด (Down's syndrome)
พยาธิสรีรภาพ
AML เป็นการกลายพันธุ์ของยีน ในระดับเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือด โดยพบว่ามีเชลล์ตัวอ่อนของเม็ดเลือดขาว ในสาย Myeloid เพิ่มมากขึ้น
อาการ
กลุ่มอาการของไขกระดูกล้มเหลว
โลหิตจาง
เม็ดเลือดขาวปกติต่ำลง
เกล็ดเลือดต่ำ
กลุ่มอาการจากการแทรกซึมของมะเร็งเม็ดเลือดขาวไปที่อวัยวะอื่น เช่น ตรวจพบตุ่มตามผิวหนัง
กลุ่มอาการที่เกิดจากความผิดปกติของการเผาผลาญอาหารเพื่อการเพิ่มจำนวนของเซลล์มะเร็ง
การวินิจฉัย
ตรวจไขกระดูก
ตรวจเลือดเพื่อนับจำนวนเม็ดเลือดและเกล็ดเลือด
ตรวจค่าการแข็งตัวของเลือด
ตรวจน้ำไขสันหลัง
การรักษา
ยาเคมีบำบัด
การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดจากเซลล์ผู้อื่น (Allogeneic Stem Cell Transplantation)
การเปลี่ยนถ่ายพลาสมาเพื่อลดจำนวนเม็ดเลือดขาวอย่างรวดเร็ว (Leukapheresis)
การให้ยาเคมีบำบัดทางน้ำไขสันหลัง (Intrathecal Chemotherapy)
การฉายแสง (Radiation)
การพยาบาล
Tumor lysis syndrome
ถ้าพบ gr.1หรือ gr.2รายงานแพทย์ และจัดผู้ป่วยไว้ห้องแยกรวม
วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
Febrile Neutropenia (การเกิดไข้ร่วมกับเม็ดเลือดขาวต่ำ)
ถ้าพบ gr.3 หรือ gr.4 รายงานแพทย์ทันทีและจัดผู้ป่วยไว้ห้องแยกเดี่ยว
ดูแลให้ Stat dose ATB ภายใน 15- 30 นาที
สวมเครื่องป้องกันร่างกายก่อนเข้าห้องผู้ป่วย
การป้องกันการติดเชื้อเนื่องจากเม็ดเลือดขาวต่ำ
ควรรับประทานอาหารสุก สะอาด สด ใหม่
ควรรับประทานอาหารโปรตีนสูง เช่น ไข่ขาว ปลา ถั่ว เป็นตัน
หลีกเสี่ยงการรับประทานอาหารหมักดอง ผักสด ผลไม้เปลือกบางที่รับประทานทั้งเปลือก ผลไม้ตากแห้ง
ควรล้างมือก่อนและหลังการรับประทานอาหารทุกครั้ง
รักษาความสะอาดปากฟัน
การดูแลทวารหนัก
ในช่วงที่เม็ดเลือดขาวต่ำ
ควรหลีกเลี่ยงการใกล้ชิดบุคคลที่เจ็บป่วย
การป้องกันภาวะซีดจากภาวะเม็ดเลือดแดงต่ำ
รับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง
หากมีเม็ดเลือดแดงต่ำ อาจทำให้เกิดภาวะอ่อนล้า (fatigue) ร่วมด้วยได้
การป้องกันภาวะเลือดออกง่ายหยุดยากจากภาวะเกล็ดเลือดต่ำ
ระมัดระวังการใช้ของมีคม
สวมรองเท้าหุ้มสันเพื่อป้องกันการชน การกระแทก
ควรใช้แปรงสีฟันขนอ่อนนุ่มในการทำความสะอาดปากฟัน
ผู้ป่วยชายควรใช้ที่โกนหนวดไฟฟ้าแทนการใช้มีดโกนหนวด
รายละเอียดเพิ่มเติมดูได้จากภาวะเลือดออกง่ายหยุดยาก