Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริม สุขภาพและการป้องกันปัญหาสุขภาพ - Coggle Diagram
การส่งเสริม สุขภาพและการป้องกันปัญหาสุขภาพ
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ไม่เคยได้รับ DT
เคยได้รับ DT
การให้ฉีดวัคซีนโควิด-19หลังครรภ์ครบ 12 สัปดาห์
โภชนาการ
ควรได้รับพลังงาน2500 Kcal/day
การพักผ่อน
ท่านอนตะแคงซ้าย sim'sposition หลีกเลี่ยงการนอนหงายราบนานๆ
ป้องกันการกดทับของหลอดเลือดดำใหญ่
การออกกำลังกาย
ควรออกกำลังเพราะทำให้สุขภาพดี หลับง่าย ยกเว้นว่ามีอาการเตือนว่าจะแท้ง
การดูแลฟัน
ฟันผุควรได้อุด ถ้ามีฟันอักเสบเรื้อรัง>>การอักเสบจะกระจายไปยังอวัยวะอื่นได้ อาการคลื่นไส้อาเจียน ทำให้เศษอาหารตกค้างเป็นสาเหตุฟันผุ เหงือกอักเสบ
การรักษาความสะอาดร่างกาย
ไม่ควรอาบน้ำในแม่น้ำหรือในอ่างอาบน้ำป้องกันน้ำสกปรกเข้าช่องคลอด
การแต่งกาย
ใส่เสื้อผ้าหลวมๆ ยกทรงขนาดพอเหมาะเต้านม รองเท้าไม่มีส้น
การขับถ่าย
ปัสสาวะบ่อยจากมดลูกเบียดปัสสาวะระยะใกล้คลอด ส่วนนำทารกกดกระเพาะปัสสาวะ อุจจาระ การเคลื่อนไหวของลำไส้น้อยลง มีอาการท้องอืด ท้องผูก
การมีเพศสัมพันธ์
หากมีแนวโน้มคลอดก่อนกำหนด มีประวัติเคยแท้งต้องงดมีเพศสัมพันธ์อย่างเด็ดขาด3-4เดือนแรก
การเดินทาง
ไม่ควรเดินทางไกลช่วงอายุครรภ์ก่อน 16 สัปดาห์ อาจทำให้แท้งได้ อายุครรภ์ 25-36สัปดาห์ ไม่ควรไปไกลจากโรงพยาบาล เดินทางไม่เกิน6ชม.
อาการผิดปกติ(มาโรงพยาบาลทันที)
น้ำคร่ำเดินก่อนกำหนด
มดลูกหดตัวแข็งถี่ผิดปกติ
ทารกไม่ดิ้น
อาการนำก่อนคลอด
มีมูกปนเลือดทางช่องคลอด
มีน้ำเดินเกิดจากการที่ถุงน้ำมีการแตกเป็นน้ำใสๆ
เจ็บครรภ์จริง/เตือน
เลิอดออกทางช่องคลอด
การดูแลมาดาที่มีอาการไม่สุขสบายในไตรมาสแรก
อาการคลื่นไส้ อาเจียน
>>การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน จิตใจ
การปฏิบัติตัว>>
อาหารแข็งย่อยง่าย ครั้งละน้อยดื่มน้ำอุ่นๆทันทีที่ตื่นนอน
ตกขาว>>
การเพิ่มของ Estrogenทำให้เพิ่มสารคัดหลั่งในช่องคลอดมีฤทธิ์เป็นกรด
การปฏิบัติตัว>>
ดูแลความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ ไม่สวนล้างช่องคลอด
มีน้ำลายมาก>>
Estrogen เพิ่ม
การปฏิบัติตัว>>
งดอาหารจำพวกแป้ง ลูกอมรสเปรี้ยว
เหงือกอักเสบ
>>การกระตุ้น Estrogen ทำให้เลือดคั่งอจเลือดออกได้ง่าย
การปฏิบัติตัว>>
ใช้แปรงขนอ่อนนุ่ม ดูแลสุขภาพฟัน เพิ่มอาหารโปรตีน ผัก ผลไม้
บวม>
>ยกเท้าสูง
การดูแลมาดาที่มีอาการไม่สุขสบายในไตรมาสสอง
ร้อนในอก>>
progesterone ลดการทำงาน
การปฏิบัติตัว>>
เลี่ยงอาหารที่ทำให้เกิดแก๊ส อาหารรสจืด
ท้องผูก>>
มดลูกขยายขึ้น,การเคลื่อนไหวลำไส้ลดลง
การปฏิบัติตัว>>
รับประทานอาหารที่มีกากใย,ฝึกนิสัยการขับถ่าย
ใจสั่น เป็นลม>>
หลอดเลือดขยาย>เลือดไปยังสมองไม่ดี
การปฏิบัติตัว>>
เปลี่ยนอริยาบถช้าๆ นอนตะแคงซ้าย
ริดสีดวงทวาร>>
ลำไส้เล็กเคลื่อนไหวลดลง+มดลูกขยายกดเส้นเลือดดำ
>
ความดันโลหิตสูง
>
เส้นเลือดโป่งพอง
การปฏิบัติตัว>>
รับประทานอาหารมีกากใย,น้ำวันละ8แก้ว/วัน
การดูแลมาดาที่มีอาการไม่สุขสบายในไตรมาสสาม
ปวดหลัง ปวดข้อ>>
เลี่ยงการทำงานหนัก
ตะคริว>>
ขาดสมดุลแคลเซียมและฟอสฟอรัส
การปฏิบัติตัว>>
นวดขา ดัดปลายเท้า งอขึ้น
เส้นเลือดขอด>>
มดลูกโต>กดทับเส้นเลือดดำที่ผ่านอุ้งเชิงกรานมาสู่ช่องท้อง
การปฏิบัติตัว>>
ไม่ยืนหรือเดินเป็นเวลานาน,ยกเท้าสูง
หายใจตื้นและลำบาก>>
กระบังลมขยายตัวไม่เต็มที่
การปฏิบัติตัว>>
นอนศีรษะสูง
ปัสสาวะบ่อย>>
อย่ากลั้นปัสสาวะ ไม่นั่งยองๆ
อาการคัน>>
ตัดเล็บให้สั้น ไม่ควรเกา เลี่ยงการใช้น้ำมันหอมระเหย
บทบาททางการพยาบาล
การพยาบาลไตรมาสที่1
พัฒนกิจขั้นที่1
สร้างความมั่นใจ และยอมรับการตั้งครรภ์
การพยาบาลไตรมาสที่2
พัฒนกิจขั้นที่2
การรับรู้การมีตัวตนของทารก
พัฒนกิจขั้นที่3
ยอมรับว่าทารกเป็นบุคคลที่มีบุคคลิกภาพแตกต่างไปจากตน
การพยาบาลไตรมาสที่3
พัฒนกิจขั้นที่4
การเปลี่ยนแปลงบทบาทเป็นมารดา
การส่งเสริมบทบาทเป็นมารดา
สนับสนุนให้ครอบครัวประคับประคองบทบาทเปลี่ยนไป
เปิดโอกาสให้หญิงตั้งครรภ์แสดงความรู้สึกลังเลใจ
เปิดโอกาสแสดงความรู้สึกเกี่ยวกับการเป็นมารดา
เปิดโอกาสแสดงความคิดเห็นกันในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
จัดหากิจกรรมของมารดาหลังการเลี้ยงดูทารก
กระตุ้นแสดงความรู้สึกที่คิดว่าเป็นสิ่งที่ยากลำบาก