Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระดูกหัก ข้อเคล็ด ข้อเคลื่อน, สิ่งแปลกปลอมเข้าตา หู คอ จมูก - Coggle…
กระดูกหัก ข้อเคล็ด ข้อเคลื่อน
ตา
ความหมาย
คือภาวะที่เศษวัตถุหรือสิ่งสกปรก เช่น ฝุ่น ผงดิน ทราย แมลง เศษเหล็ก ปลิวหรือกระเด็นเข้าตาสาเหตุ อาจเกิดจากการประกอบอาชีพที่เกี่ยวกับการขุดเจาะดิน ปูน ก่อสร้าง หรืออยู่ในสถานที่มีฝุ่นหรือดินเยอะ พบเจอ มลพิษทางอากาศ
อาการและอาการแสดง
เคืองตาปวดตา น้ำตาใหล ตาแดง
อาจติดเชื้ออักเสบเป็นหนอง
อาจทำให้กลายเป็นแผลที่กระจกตาหรือเชื้อโรคอาจ ลุกลามเข้าไปในลูกตาทำให้ลูกตาอักเสบตาเสียได้
การประเมินภาวะสุขภาพ
ซักประวัติ
ข้อมูลทั่วไป
อาการสำคัญ CC 1-3อาการ+เวลา
อาการเจ็บป่วยปัจจุบัน PI ตาม OLDCART
Onset : เริ่มเกิดอาการเมื่อใด เช่น ค่อยๆปวด แย่ลงเมื่อ ขยี้ตา แย่ลงเมื่อลืมตา
Location : ตำแหน่งที่มีอาการ
Duration : ระยะเวลา ความถี่อาการ Character : ลักษณะแสบ ปวดร้าว Associated symptoms: ลักษณะอาการร่วม Relieving factor : ปัจจัยบรรเทาหรือหนักขึ้น
Treatment : การรักษาที่ได้รับมาก่อน
อาการเจ็บป่วยในอดีต PH
2.ตรวจร่างกาย
V/S
ดู : พบสิ่งแปลกปลอม ตาแดง น้ำตา น้ำหนอง เลือด
คลำ : พบก้อน ตุ่มนูน คลำต่อมน้ำตา กดเจ็บ
การรักษาเบื้องต้น
•การระคายเคืองเล็กๆน้อยๆ
หลีกเลี่ยงการขยี้ตา
กระพริบตาเร็วๆฝุ่นผงจะหลุดมากับน้ำตา
ล้างตาด้วยน้ำสะอาด
ใช้สำลีหรือผ้าชุบน้ำหมาดๆเช็ดตา หรือกดเบาๆขับสิ่งแปลกปลอมออก
ใช้น้ำตาเทียมหยดใส่ตาเล็กน้อยกรณีไม่มีน้ำตาหรือน้ำ
ถ้าตาแดงให้ป้ายหรือหยอดตาด้วยยาปฏิชีวนะ
•สิ่งแปลกปลอมขนาดใหญ่ หรือที่มีอันตราย
อย่าพยายามที่จะเอาวัตถุออกด้วยตัวเองนอกจากนี้หากมีอาการปวดรุนแรงนานกว่า 30 นาทีให้ส่งต่อทันที
ล้างตาด้วยวิธีน้ำไหลใช้0.9%NSS /Boric acid 3% เป็นเวลา15-30 นาทีจากหัวตาไปหางตา
การเขี่ย
ที่หนังตาบนใช้นิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้จับหนังตาบนแล้วพับหนังตาขึ้นโดยใช้ไม้พันสำลีกดให้ผู้ป่วยมองต่ำใช้มุมผ้าผืนเล็กๆบางบางเขี่ยออก
ที่หนังตาล่างใช้นิ้วหัวแม่มือหรือนิ้วชี้กดหนังตาล่าง ดึง ลงข้างล่างให้ผู้ป่วยเหลือบตามองสูง ใช้มุมผ้าเช็ดหน้าผืน เล็กๆบางบางเขี่ยออก4. ส่งต่อรพ. ขณะส่งต่อควรปิดตาผู้ป่วยทั้งสองข้างอย่าง หลวมๆหรือให้ผู้ป่วยหลับตาแล้วใช้ผ้านิ่มๆวางทับเหลือก ตาไว้
ข้อเคลื่อน/ข้อหลุด (Dislocation)
ความหมาย เป็นภาวะที่หัวกระดูกหรือปลายกระดูกสองอันที่มาชนกันเป็นข้อเคลื่อนหรือหลุดออกจากตำแหน่งปกติจากแรงที่มากระทำ ข้อนั้นอย่างรุนแรงจนทำให้เยื่อหุ้มข้อหรือเส้นเอ็นยึดข้อฉีก ขาดจนคอเคลื่อนหลุดจากกัน
สาเหตุ
เกิดจากความพิการแต่กำเนิดบางคนเกิดมาพร้อมกับเอ็น ที่หย่อนยาน
เกิดจากอุบัติเหตุ
เกิดจากกีฬาที่มีการปะทะกัน
เกิดจากการถูกตีหกล้มหรือการเหวี่ยงการบิดหรือกระชาก อย่างแรงที่ข้อนั้น
อาการและอาการแสดง
มีอาการบวม และ ปวด ที่ข้อกระดูก เวลากดบริเวณข้อจะเจ็บ มากข้อกระดูกมีรูปร่างผิดปกติไปจากเดิม ไม่สามารถ เคลื่อนไหวข้อได้ตามปรกติ มีการหดสั้นของอวัยวะ เช่น แขน หรือขา เวลาคลำที่ข้อกระดูก สัมผัสหัวกระดูกที่เคลื่อนได้
การประเมินภาวะสุขภาพ
ซักประวัติ
ข้อมูลทั่วไป
อาการสำคัญ CC 1-3อาการ+เวลา
อาการเจ็บป่วยปัจจุบัน PI ตาม OLDCART
Onset : เริ่มเกิดอาการเมื่อใด เช่น ค่อยๆปวด ปวดทันที ทันใด
Location : ตำแหน่งที่มีอาการ
Duration : ระยะเวลา ความถี่อาการ
Character : จะปวดมากจากการฉีกขาดของเอ็น พังผืดและเนื้อเยื่อที่หุ้มรอบข้อต่อตน.ที่หลุด
Associated symptoms: ลักษณะอาการร่วม
Relieving factor : ปัจจัยบรรเทา หรือหนักขึ้น
Treatment : การรักษาที่ได้รับมาก่อน- อาการเจ็บป่วยในอดีต PH
2.ตรวจร่างกาย
V/S
ดู : รูปร่างผิดปกติไปจากเดิมสีบริเวณข้อเปลี่ยนไปมี อาการบวมรอบรอบข้อผิวหนังซีด
คลำ : กดเจ็บจากการฉีกขาดของเอ็น พังผืดและเนื้อเยื่อที่ หุ้มรอบข้อต่อหลุดอาจคลำพบปลายหรือหัวกระดูกที่เคลื่อน ออกมา
ขยับ : ประเมิน ROM ข้อไหล่หลุดจะพบบริเวณไหล่ที่เคย นูนจะแบนราบลงเป็นเส้นตรงเหมือนไม้บรรทัด
วัด : ความยาวของแขนหรือขาข้างที่ได้รับบาดเจ็บอาจสั้น หรือยาวกว่าปกติ
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ : MRI/X-rayดูตำแหน่งและความรุนเเรง
การรักษาเบื้องต้น
ใช้วัสดุที่หาได้หนุนหรือประคองข้อกระดูกที่เคลื่อนให้อยู่ในท่าที่สบาย
ใช้ผ้าพยุงหรือดามไว้ให้ส่วนนั้นอยู่ในท่าพัก
ประคบด้วยน้ำแข็งบริเวณข้อ
อย่าพยายามดึงให้เข้าที่เอง
ถ้าปวดมากให้ทานยา ibuprofen หรือ acetaminophen
ส่งต่อโรงพยาบาล
หลัก RICE
Rest พัก 48 ชม.ก่อนเคลื่อนไหวอีกครั้ง
Ice ประคบเย็น10-20 นาที หยุด 5 นาที ทำเรื่อยๆ 2-3 ครั้ง/วัน- ถุงเย็น ice pack- พ่นสเปรย์เย็น cooling spray
Compression bandage พันผ้ายืด ร่วมกับประคบเย็น โดย
3.1 พันเป็นม้วนแน่นสะอาด
3.2 หงายผ้าขึ้น
3.3 ส่วนเจ็บเป็นจุดกึ่งกลาง
3.4 จากปลายไปโคน
3.5 พันแบบไขว้หรือเลข 8
Elevated การยกสูงกว่าระดับหัวใจ
กระดูกหัก
การประเมินภาวะสุขภาพ
1.ซักประวัติข้อมูลทั่วไป
อาการสำคัญ CC 1-3อาการ+เวลาอาการเจ็บป่วยปัจจุบัน PI ตาม OLDCART
Onset : เริ่มเกิดอาการเมื่อใด เช่น ค่อยๆปวด แย่ลง เมื่อเคลื่อนไหวLocation : ตำแหน่งที่มีอาการ
Duration : ระยะเวลา ความถี่อาการ
Character : ลักษณะตื้อๆ ตุ๊บๆ ชาร่วมด้วย
Associated symptoms: ลักษณะอาการร่วมRelieving factor : ปัจจัยบรรเทา หรือหนักขึ้น
Treatment : การรักษาที่ได้รับมาก่อนอาการเจ็บป่วยในอดีต PH
ตรวจร่างกาย
V/S
ดู : อาการบวม ซีด อวัยวะผิดรูปคลำ อาจได้ยินเสียงกระดูกเสียดสีกรอบแกรบ
ประเมินการไหลเวียนเลือดส่วนปลายขยับ : ประเมิน ROM
วัด : หักแบบปิด รยางค์ที่หักจะสั้นกว่าข้างที่ปกติ
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ : MRI / X-rayดูตำแหน่งที่หัก
ความหมาย
คือภาวะที่กระดูกได้รับแรงกระแทกมากเกินไป ไม่สามารถรับน้ำหนักได้ เกิดการหัก หรือแตกร้าว ทั้งที่มีเลือดออกและไม่มีเลือดออก
ประเภท
2.หักแบบสมบูรณ์และไม่สมบูรณ์
หักแบบสมบูรณ์ (complete fracture) ทั้งสองฝั่งหักแบบ
ไม่สมบูรณ์ (incomplete fracture) เพียงฝั่งเดียว
3.ลักษณะต่างๆกระดูกหักทั่วไป (simple fracture)
กระดูกหักเฉียง (oblique fracture)
กระดูกยุบตัว (compression fracture)
ปุ่มกระดูกแตก (avulsion fracture)
กระดูกหักเป็นเกลียว (spiral fracture)
กระดูกหักยุบเข้าหากัน (impact fracture)กระดูกเดาะ (greenstick fracture)
กระดูกหักล้า (stress fracture)
กระดูกแตกย่อย (comminuted fracture)
กระดูกหักจากพยาธิสภาพ (pathologic fracture)
กระดูกหักตามขวาง (transverse fracture)
แบบปิดและแบบเปิด
แบบปิดไม่มีแผล (close fracture)
แบบเปิดมีแผลเปิด (open fracture) กระดูกทิ่มผิวหนังทะลุออกมา
สาเหตุ
เกิดจากอุบัติเหตุ
เกิดจากพยาธิสภาพ เช่น ภาวะกระดูกพรุน(osteoporosis) มะเร็ง กระดูก(primary bone tumor)
อาการและอาการแสดง
Tenderness กดเจ็บตรงตำแหน่งที่กระดูกหัก
Swelling หรือ hematoma บวมและช้ำเลือด
Deformity ลักษณะผิดรูปได้แก่ โก่ง งอบิด
Loss of function ไม่สามารถใช้งานได้ตามปกติ
Abnormal movement เคลื่อนไหวผิดธรรมดาหรือเคลื่อนไหวไม่ได้
Crepitus มีเสียงกระดูกเสียดสีกันมีการหดเกร็งของกล้ามเนื้อบริเวณรอบๆ
การรักษาโรคเบื้องต้น
ห้ามดึงข้อหรือจัดกระดูกให้เข้าที่ด้วยตัวเอง
ควรใช้กรรไกรตัดตามตะเข็บผ้า
ใช้วัสดุที่พอหาได้ดามเฝือกชั่วคราวอยู่ในถ้านิ่งที่สบาย
ห้ามเลือดผู้ป่วยโดยใช้ผ้าขนหนูแห้งสะอาดวางปิดแผล
ประคบเย็นและยกอวัยวะให้สูงเพื่อลดอาการบวม
ทำความสะอาดโดยใช้หลัก sterile technique7. ประเมินการไหลเวียนเลือด
ส่งต่อรพ.โดยเร็ว
การใส่เฝือกชั่วคราว
วัสดุ ควรเป็นกระดานแข็งโดยให้มีความยาวกว่าอวัยวะ ส่วนที่หัก
มัดเฝือกกับอวัยวะที่หักให้แน่นพอ
จัดวางตำแหน่งให้เหมาะสม
บริเวณที่เข้าเฝือกก็ต้องอยู่ในท่าที่สบายที่สุด
สิ่งแปลกปลอมเข้าตา หู คอ จมูก
หู
อาการและอาการแสดง
ไม่มีอาการถ้าเป็นสิ่งไม่มีชีวิต
เศษพืชหรือเมล็ดผลไม้อาจทำให้ช่องหูอักเสบ ปวด หนองไหล หรือหูตึง
สิ่งแปลกปลอมชิ้นโตอุดแน่น ทำให้หูตึงสิ่งมีชีวิตคลาน เข้าไปกระแทกช่องหูหรือแก้วหู รู้สึกรำคาญและเจ็บ
สิ่งของอาจกลิ้งไปมาหรือแมลงดิ้นไปมาทำให้มีเสียงในหู
เลือดออก
อาการที่ควรส่งต่อ
เริ่มมีอาการเจ็บหรือรู้สึกปวดในหูมากขึ้น
ไม่สามารถนำเอาวัตถุแปลกปลอมออกจากหูได้
ได้ยินเสียงผิดปกติในหูมีอาการแดงหรือบวม
มีของเหลวไหลออกจากหู
อาการรุนแรงขึ้น
มีอาการอื่นๆเพิ่มเติม
การประเมินภาวะสุขภาพ
ซักประวัติ
ข้อมูลทั่วไป
อาการสำคัญ CC 1-3อาการ+เวลา
อาการเจ็บป่วยปัจจุบัน PI ตาม OLDCART
Onset : เริ่มเกิดอาการเมื่อใด เช่น ค่อยๆปวด แย่ลง เมื่อกลืนน้ำลาย
Location : ตำแหน่งที่มีอาการ
Duration : ระยะเวลา ความถี่อาการ
Character : ลักษณะแสบปวด เวียนศีรษะ
Associated symptoms: ลักษณะอาการร่วม
Relieving factor : ปัจจัยบรรเทาหรือหนักขึ้น
Treatment : การรักษาที่ได้รับมาก่อน
อาการเจ็บป่วยในอดีต PH
2.ตรวจร่างกาย
V/S
ดู : พบสิ่งแปลกปลอม ของเหลว น้ำหนอง เลือด
คลำ : พบก้อน ตุ่มนูน กดเจ็บ
การรักษาเบื้องต้น
ถ้ามองเห็นสิ่งแปลกปลอมได้และไม่ได้เป็นของแข็งให้ใช้ปากคีบภายใต้แสงสว่างอย่างเพียงพอ
ห้ามใช้ไม้พันสำลีก้านไม้ขีดไฟหรือวัตถุอื่นใดเขี่ย วัตถุออกเอง
เอียงเอาหูข้างที่มีสิ่งแปลกปลอมลงต่ำและค่อยค่อย โยกหรือเคาะศรีษะในแนวดิ่งเบาเบา
หากเป็นแมลงเข้าหูให้เอาศีรษะขึ้นและใช้น้ำอุ่น น้ำมันทาตัว น้ำมะพร้าว น้ำมันมะกอก ยาหยอดหูหรือ น้ำมันพืชใส่ลงไปในรูหู
ห้ามใช้น้ำ หรือน้ำมันไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ หรือ ของเหลวอื่นๆใส่ลงไปในรูหู
ล้างออกด้วยน้ำ
การดูดออก
8.ในเด็กเล็กควรพูดปลอบอย่างนุ่มนวล ให้เด็กอยู่ใน ภาวะสงบและไม่ตกใจกลัว จนกว่าเจ้าตัวจะสงบลงจึง ค่อยพยายามเขี่ยวัตถุออก
หลีกเลี่ยงการใช้น้ำหรือน้ำมันในการนำเอาวัตถุอื่นๆ ที่ไม่ใช่แมลงออกจากใบหู
ถ้าเป็นถ่านใส่นาฬิกาควรรีบส่งต่อโดยเร็วที่สุด
ความหมาย
คือ ภาวะที่มีวัตถุหรือสิ่งมีชีวิต เข้าไปอุดอยู่ในรูหู
สาเหตุ สิ่งแปลกปลอมเข้าหูพบได้ทั่วไปทั้งเด็กและผู้ใหญ่ในเด็ก อาจเกิดจากความซุกซนอยากลองและอยากรู้ของเด็กวัสดุ ที่พบบ่อยเช่นเศษเม็ดถั่วเสร็จก้อนยางลบลูกปัดและมักจะ ได้รับการรักษากว่าผู้ใหญ่ จำแนกได้ ดังนี้
สิ่งแปลกปลอมที่ไม่มีชีวิตเป็นสิ่งของรอบตัว
สิ่งแปลกปลอมที่มีชีวิต
ไม่สร้างความเจ็บปวด แต่รำคาญ ได้แก่ ยุง แมลงหวี่ ตัวหนอน เป็นต้น
สร้างความเจ็บปวด ได้แก่ มด เห็บ ตั้กแตน เป็นต้น
จมูก
ความหมาย
เป็นภาวะที่มีสิ่งแปลกปลอมอุดกั้นในจมูก ลักษณะดังนี้
ไม่มีชีวิต เช่น ลูกปัด ถ่าน เป็นต้น
มีชีวิต เช่น พยาธิไส้เดือน หนอนแมลงวัน เป็นต้น
ประะเภท Rhinolith คือการแข็งตัวของของสารคัดหลั่ง
endogenous สารคัดหลั่ง+ชิ้นส่วนร่างกายผิดที่
exogenous สารคัดหลั่ง+สิ่งแปลกปลอมภายนอก
สาเหตุ ยิ่งอายุน้อยมากเท่าไหร่ก็ยิ่งมีโอกาสพบสิ่งแปลกปลอมได้ มากขึ้นเท่านั้นเกิดจากการที่เด็กมีภาวะซุกซนอยากรู้อยาก ลองหยิบจับสิ่งของยัดเข้ารูจมูก
อาการอาการแสดง
น้ำมูกหรือหนองไหลออกจากจมูกข้างเดียว
จามระคายเคืองจมูก
จมูกมีกลิ่นเหม็น
คัดแน่นจมูก
ปวดจมูกข้างเดียว
มีเสมหะไหลลงคอ ไอบ่อย
การประเมินภาวะสุขภาพ
ซักประวัติ
ข้อมูลทั่วไป
อาการสำคัญ CC 1-3อาการ+เวลา
อาการเจ็บป่วยปัจจุบัน PI ตาม OLDCART
Onset : เริ่มเกิดอาการเมื่อใด
Location : ตำแหน่งที่มีอาการ
Duration : ระยะเวลา ความถี่อาการ
Character : ลักษณะแน่น หายใจมีเสียง มีกลิ่น
Associated symptoms: ลักษณะอาการร่วม
Relieving factor : ปัจจัยบรรเทา หรือหนักขึ้น
Treatment : การรักษาที่ได้รับมาก่อน
อาการเจ็บป่วยในอดีต PH
2.ตรวจร่างกาย
V/S
ดู : พบสิ่งแปลกปลอม ของเหลว น้ำหนอง เลือด
คลำ : พบก้อน ตุ่มนูน กดเจ็บ
การรักษาเบื้องต้น
ใช้มือปิดรูจมูกอีกข้างแล้วสั่งน้ำมูกแรงแรงห้ามพยายามใช้เครื่องมือต่างๆคีบเอาออกเอง
หากสิ่งแปลกปลอมมีผิวขรุขระหยิบ สามารถใช้ forcep คีบออกได้
หากสั่งน้ำมูกแล้วไม่หลุดออกมาให้ส่งต่อรพ.ทันทีและงดน้ำงดอาหาร
คอ
ความหมาย
เป็นภาวะที่มีสิ่งแปลกปลอมอุดกั้นทางเดินลมหายใจ แบ่ง เป็น 2 กลุ่ม ดังนี้
ชนิดไม่รุนแรง สามารถหายใจได้ ไอได้ พูดหรือออก เสียงได้
ชนิดรุนแรง มีอาการหายใจไม่ได้ หายใจลำบาก ไอ ไม่ได้ พูดไม่มีเสียง หน้าซีด เขียว ใช้มือกุมลำคอตัวเอง
สาเหตุ
ความเผอเรอ เช่น พูด คุย หัวเราะ ขณะกิน เป็นต้น
อายุของเด็ก ช่วง 1-10 ปี ชอบหยิบจับของเข้าปาก
อื่นๆ เช่น อุบัติเหตุระหว่างทำฟัน เป็นต้น
อาการและอาการแสดง
พูดไม่ได้ไปชั่วขณะ ทำให้อาจจะสื่อสารกับคนรอบตัว ลำบาก
มีอาการเจ็บคอกลืนแล้วเจ็บมาก กลืนลำบาก หรือ กลืนไม่ลง
ถ้าชิ้นโตจะอุดแน่นหายใจไม่ออก หอบ ริมฝีปากเขียว คล้ำ ตัวเขียว ทุรนทุราย
อาการเริ่มแรกจะสำลักไออย่างรุนแรง เสียงดังกังวาล หายใจเสียงดัง ไอมีเสมหะปนเลือดหรือหนอง
การประเมินภาวะสุขภาพ
ซักประวัติ
ข้อมูลทั่วไป
อาการสำคัญ CC 1-3อาการ+เวลา
อาการเจ็บป่วยปัจจุบัน PI ตาม OLDCART
Onset : เริ่มเกิดอาการเมื่อใด
Location : ตน.ที่มีอาการ
Duration : ระยะเวลา ความถี่อาการ
Character : ปวดแน่น หายใจไม่ออก กลืนแล้วแย่ลง
Associated symptoms: ลักษณะอาการร่วม
Relieving factor : ปัจจัยบรรเทา หรือหนักขึ้น
Treatment : การรักษาที่ได้รับมาก่อน
อาการเจ็บป่วยในอดีต PH
ตรวจร่างกาย
V/S
ดู : ใบหน้าซีด เขียวคล้ำ อาการทุรนทุราย หอบ เหนื่อย ตัวเขียว ตาเหลือก
คลำ : พบก้อน ตุ่มนูน กดเจ็บ
เคาะ : ความสั่นสะเทือนของปอดทั้งสองข้างไม่เท่ากัน
ฟัง : ได้ยินเสียงผิดปกติ เช่น wheezing เนื่องจากมี ของอุดตันทางเดินหายใจ
การรักษาเบื้องต้น
ซักประวัติเกี่ยวกับสิ่งแปลกปลอมว่าคืออะไร
ให้ผู้ป่วยอ้าปากกว้าง ถ้าเห็นสิ่งแปลกปลอมใช้ไม้กดลิ้นพันผ้าก๊อซ กดที่โคนลิ้นแล้วใช้ปากคีบคีบสิ่งแปลกปลอมออกมา
ถ้าเป็นก้างหรือกระดูกขนาดเล็กให้ดื่มน้ำมากๆหรือกลืนข้าวสุก หรือกลืนขนมปังนุ่มนุ่ม
ห้ามใช้มือแทะหรือล้วง
วิธีการช่วยเหลือ
5.1 <1ปี
จัดให้ศีรษะเด็กต่ำกว่าลำตัวจับที่บริเวณขากรรไกรของเด็ก ประคองคอเด็กไปด้วย
ใช้มือข้างที่ถนัดตบหลังเด็ก กึ่งกลางสะบักด้วยสันมืออย่างแรงห้าครั้ง
กลับตัวเด็กมานอนหงาย
ใช้นิ้ว 2 นิ้วของมืออีกข้างกดลงบนกึ่งกลางหน้าอกของเด็กโดยต่ำกว่าระดับหัวนมเล็กน้อยกดกระแทกอย่างแรงห้าครั้ง
ทำสลับไปมาห้าครั้งจะเด็กร้องออกมาได้เอง หรือมีสิ่ง แปลกปลอมหลุดออกมา
5.2 เด็กโต หรือผู้ใหญ่
กำมือหนึ่งข้างแล้ววางไว้เหนือบริเวณสะดือ แต่ใต้ลิ้นปี่อีกมือโอบกำปั้นไว้ ดันนิ้วหัวแม่มือเข้าไปด้านในหน้าท้องผู้ป่วยแล้วให้รัดกระตุกขึ้น พร้อมออกแรงจนกว่าสิ่งแปลกปลอม จะหลุดออกมาหรือจนกว่าผู้ป่วยจะพูดหรือร้องออกมาได้
คนอ้วนหรือหญิงมีครรภ์ให้วางมือกึ่งกลางหน้าอกเหนือลิ้นปี่เล็กน้อย กดแรงแรงบริเวณหน้าอกติดต่อกัน 6-10 ครั้ง
กรณีหมดสติให้นอนหงายวางโคนฝ่ามือถัดจากซี่โครงซี่สุดท้ายวางอีกมือข้างบนกดแรงแรงเข้าด้านไหนและขึ้นข้าง บน 5 ครั้ง
ถ้าไม่เห็นสิ่งแปลกปลอม ส่งต่อรพ.ทันที
หลังเอาสิ่งแปลกปลอมออกส่งต่อรพ. สังเกตใกล้ชิด