Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 พยาธิสรีรวิทยาของภาวะผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร - Coggle Diagram
บทที่ 7 พยาธิสรีรวิทยาของภาวะผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร
สรีรวิทยาของระบบทางเดินอาหาร
อวัยวะที่ทำหน้าที่เป็นทางผ่านของอาหาร (Atimentary tract)
ปาก (Mouth)
หลอดคอหรือลำคอ (Pharynx)
หลอดอาหาร (Esophagus)
กระเพาะอาหาร (Stomach)
ลำไส้เล็ก (Small intestine)
ลำไส้ใหญ่ (Large intestine)
ทวารหนัก (Anus)
อวัยวะที่ช่วยย่อยอาหาร
ต่อมน้ำลาย (Salivary gland)
ตับ (Liver)
ตับอ่อน (Pancreas)
กระบวนการเมตาบอลิซึม
2.1 ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
การย่อยเชิงกล (Mechanical digestion)
การย่อยทางเคมี (Chemical digestion)
2.2 การดูดซึมอาหารในลำไส้เล็ก
2.3 การดูดซึมในลำไส้ใหญ่
ภาวะโภชนาการที่ผิดปกติ
ภาวะทุพโภชนาการ (Malnutrition) แบ่งเป็น 3 ประเภทหลัก ๆ
ภาวะที่มีโภชนาการเกิน (Overnutrition)
สาเหตุของโรคอ้วน
-พันธุกรรม
-รับประทานอาหารมากเกินไปแล้วไม่มีเวลาออกกำลังกาย
-พฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวันที่ไม่เหมาะสมมีการใช้พลังงานต่ำ
-โรคบางชนิดเช่น Cushing s Syndrome เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนในร่างกายทำให้อ้วนบริเวณใบหน้าลำตัวต้นคอด้านหลัง แต่แขนขาเล็ก
ภาวะขาดสารอาหาร (Under nutrition or nutritional deficiency)
2.1 การขาดโปรตีนและพลังงาน (Protein energy malnutrition; PEM หรือ protein calorie malnutrition; PCM)
-Kwashionkor
โรคที่เกิดจากการขาดสารอาหารโปรตีนเรื้อรังเด็กเจริญเติบโตช้า
Marasmus
โรคที่เกิดจากการขาดพลังงานและโปรตีนเป็นเวลานาน
ภาวะการขาดวิตามิน
โรคขาดวิตามินเอ
โรคขาดวิตามินบีหนึ่งแบ่งเป็น 3 ประเภท
มีอาการชาโดยไม่บวม (Dry beriberi)
มีอาการชาและบวม (Wet (cardiac)
มีอาการทางสมองเรียกว่า Wernicke-Korsakoff (cerebral) syndrome
โรคขาดวิตามินเจ็บป่วย
โรคขาดธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัส
โรคขาดธาตุเหล็ก
โรคขาดธาตุไอโอดีน
โรคขาดวิตามินบีสอง
พยาธิสรีรวิทยาโรคระบบททางเดินอาหาร
ความผิดปกติของผนังอาหาร
1.1 Hiatal hernia แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
1) sliding (direct) hiatal hernia Stiding hiatal hernia
2) paraesophageal (rolling) hiatal hernia
อาการและอาการแสดง
ช่วงแรกมักไม่มีอาการแสดงต่อมามีอาการขย้อน (reflux) กลืนลำบากจุกเสียดอกหรือปวดบริเวณ epigastrium โดยมักมีอาการแน่นใต้ sternum หลังรับประทานอาหาร
การตรวจวินิจฉัย
barium Swallowing
endoscopy
chest X-ray
การรักษา
sliding hiatal hernia รักษาแบบประคับประคอง
-รับประทานที่ละน้อย แต่บ่อยครั้ง
-นอนในท่า semi-fowler position ควรหลีกเลี่ยงการอยู่ในท่านอนชันเข่า (recombent position) หลังรับประทานอาหาร
หลีกเลี่ยงการใส่เสื้อผ้าคับหรือรัดหน้าท้อง
-ควบคุมน้ำหนัก
-ให้ยา antacids เพื่อลด reflux esophagitis
กระเพาะอาหารอักเสบและแผลในทางเดินอาหาร
กระเพาะอาหารอักเสบ (Gastritis)
1.1 กระเพาะอาหารอักเสบชนิดเฉียบพลัน (Acute gastritis)
สาเหตุเกิดจากรับประทานกรดด่างที่มีฤทธิ์กัดกร่อนยาบางชนิด
1.2 กระเพาะอาหารอักเสบชนิดเรื้อรัง (Chronic gastritis)
สาเหตุเกิดจากการทันกลับของน้ำดีพบในผู้ป่วยซึ่งเป็นแผลในทางเดินอาหารได้รับสารที่ก่อให้เกิดการระคายเคืองเรื้อรังเช่นการดื่มเหล้าการรับประทานยาบางชนิด
อาการ
ผู้ป่วยกระเพาะอาหารอักเสบทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรังอาจมีภาวะซีดเนื่องจากเสียเลือดเป็นเวลานานตรวจพบเลือดในอุจจาระหรืออาเจียนมีเลือดปน
การรักษา
การรักษาทางยา ได้แก่ antacids, Sucralfate (carafate) H2 blockers หรือ prostaglandins ร่วมกับขจัดสาเหตุของกระเพาะอาหารอักเสบเช่นยาภาวะติดเชื้อเป็นต้น
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงการดื่มเหล้า
ระมัดระวังในการรับประทานยาโดยเฉพาะยาประเภท aspirin, nonsteroidal, anti inflammatory drugs (เช่น ibuprofen และ indomethacin) และ Corticosteroids
หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มที่ผสม cafeine
ไม่รับประทานอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อ
งดสูบบุหรี่
หลีกเลี่ยงการรับประทานสารเคมีหรือสารที่ก่อให้เกิดการระคายเคืองเช่นกรดด่าง
แผลในทางเดินอาหาร (Peptic Ulcer)
กลไกการเกิดพยาธิสภาพ
เกิดจากการขาดสมดุลของสารคัดหลั่งจากกระเพาะอาหารคือ hydrochloric acid และ pepsin กับฝ่ายทำหน้าที่ป้องกันคือเยื่อเมือกที่บุทางเดินอาหารและเกิดจากความสามารถในการควบคุมยับยั้งการหลั่งน้ำย่อยของลำไส้เล็กส่วนต้น
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดแผลในระบบทางเดินอาหาร
ฮอร์โมนเช่น ACTH และ Cortisone
ความเครียดทางอารมณ์เพิ่มการหลั่งน้ำย่อยลดเลือดที่มาเลี้ยงเลือดที่มาเลี้ยงกระเพาะอาหารเมื่อมีความเครียดระบบประสาทซิมพาติติคจะทำให้เส้นเลือดในลำไส้เล็กหดตัวส่งผลให้เยื่อบุถูกทำลาย
ยาบางชนิดก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงน้ำย่อยการทำลายเยื่อบุเฉพาะที่ลดการซ่อมแซมสร้างเยื่อบุ
แผลในระบบทางเดินอาหารแบ่งเป็น 3 ประเภทดังนี้
แผลในทางเดินอาหารจากภาวะเครียด (Stress ulcer)
2.แผลในกระเพาะอาหาร
3.แผลในลำไส้เล็กส่วนต้น Duodenal ulcer
โรคลำไส้อักเสบ Inflammatory bowel diseasa
1.) Crohn's disease
อาการ
ท้องเสียเป็นพัก ๆ ปวดบิด (Coicky pain) พบบ่อยบริเวณท้องด้านขวาล่าง
น้ำหนักลด
มีความไม่สมดุลของสารน้ำและอิเลคโตรลัยท์อ่อนเพลีย
มีไข้ต่ำ ๆ
ผู้ป่วยที่ท้องเสียรุนแรงพบแผลบริเวณรอบทวารบ่อยมีความบกพร่องทางโภชนาการ
2.) Ulcerative colitis
อาการ
ถ่ายเป็นเลือดและท้องเสีย
มีไข้ปวดท้อง
เสี่ยงต่อการเกิด toxic megacolon และ perforation
ภาวะแทรกซ้อน
crohn's disease การเกิดรูทะลุ (fistulas) ระหว่างทางเดินอาหารและอวัยวะที่อยู่ใกล้กันเช่นกระเพาะปัสสาวะช่องคลอดผิวหนัง
Crohn's disease และ ulcerative Colitis อาจพบ toxic megacolon ข้ออักเสบ (arthritis) พบบริเวณกระดูกสันหลัง (spine) Sacroiliac joints และบริเวณข้อของแขนขาตาอักเสบ uveitis มีความผิดปกติของผิวหนัง
ulcerative Colitis ภาวะแทรกซ้อนคือมะเร็งของลำไส้ใหญ่ (cancer of colon)
การวินิจฉัย
ประเมินจากการซักประวัติตรวจร่างกาย
การส่องกล้อง Sigmoidoscopy และตัดชิ้นเนื้อตรวจ
ตรวจอุจจาระหาสาเหตุของการติดเชื้อและเพาะเชื้อ
CT scans เพื่อตรวจหาก้อนและ
การรักษา
ระยะการอักเสบเฉียบพลันต้องได้รับยาพวก Corticosteroids ในรูปการสวนหรือเหน็บทางทวารหนัก
ผู้ป่วย ulcerative Colitis อาจต้องผ่าตัด rectum และ Colon ileostomy, ileoanal anastonnosis ตามความจำเป็น
ผู้ป่วย Crohn's disease ท้องเสียถ่ายอุจจาระมีไขมันปนและมีความบกพร่องในการดูดซึมขาดสารอาหารจึงควรได้รับอาหารที่มีแคลอรีสูงวิตามินและโปรตีนงดอาหารประเภทไขมัน
Diverticula disease
อาการ
ส่วนใหญ่ไม่แสดงอาการบางรายที่มีอาการแสดงเช่นอาการปวดเหมือนถูกบีบบริเวณช่องท้องส่วนล่างท้องเสียท้องผูกแน่นท้องหรือท้องอืด
diverticula อาจมีการอักเสบจนเป็นฝีตรวจพบเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้นกดเจ็บบริเวณด้านซ้ายของท้องส่วนล่าง
การตรวจวินิจฉัย
การทำ sigmoidoscope ซึ่งทำให้เห็นบริเวณที่มีความผิดปกติ
การรักษา
แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีกากใยเพื่อช่วยให้การขับถ่ายสะดวก
ในรายที่มี diverticulitis ต้องได้รับยาปฏิชีวนะ
ถ้ามีภาวะแทรกซ้อนจำเป็นต้องผ่าตัด
Gastroesophageal reflux disease (GERD GERD
การป้องกัน
เพิ่มประสิทธิภาพของ peristaltic Contraction ของหลอดอาหารเสริมแรงโน้มถ่วงของโลกและเร่งการสลายกรดให้เป็นกลางโดย bicarbonate ในน้ำลาย
การรักษา
แนะนำรับประทานอาหารที่ละน้อย แต่บ่อยครั้งควรรับประทานอาหารที่มีไขมันต่ำ
นอนศีรษะสูงจากพื้นประมาณ 6 นิ้ว
อมลูกอมหรือเคี้ยวหมากฝรั่งเพื่อเพิ่มน้ำลาย
ใส่เสื้อผ้าหลวม ๆ
ยาที่ใช้ ได้แก่
-H2-receptor antagonists เช่น cimetidine, ranitidine-prokinetic agents เช่น cisapride-proton pump inhibitors เช่น Omeprazole
Achalasia
อาการ
กลืนลำบาก
ขย้อนอาหารที่ค้างอยู่ในตอนกลางคืน
ภาวะแทรกซ้อนคือหลอดอาหารอักเสบหรือเกิดแผลในหลอดอาหาร (esophasitis, ulceration)
อาจเกิดการสำลักเอาเศษอาหารหรือน้ำย่อยที่ขย้อนเข้าไปในปอดทำให้ติดเชื้อได้ aspirated penumonia)
การวินิจฉัย
barium Swallowing จะพบหลอดอาหารขยายขึ้น
ตรวจดูการเคลื่อนไหวของหลอดอาหาร (esophageal manometric )
ส่องกล้องดูหลอดอาหาร (esophagoscopy) และตัดชิ้นเนื้อตรวจการรักษา
การรักษา
การรักษาเพื่อบรรเทาอาการ
การรักษาในรายที่มีอาการรุนแรงหรือมีภาวะแทรกซ้อน
ท้องผูก (constipation)
สาเหตุเกิดจาก
ความผิดปกติทางระบบประสาทของลำไส้ใหญ่
ความผิดปกติของการทำหน้าที่
การรับประทานอาหารที่มีกากน้อย
แบบแผนการดำเนินชีวิต
ยาบางชนิด
การวินิจฉัย
การซักประวัติแบบแผน
ตรวจร่างกายโดยเฉพาะการดูและคลำท้องเพื่อดูก้อนเนื้องอกและอาการกดเจ็บ
การส่องกล้องเช่น proctoScope
การสวนแป้ง barium (barium enema)
การรักษาตามสาเหตุ
ควรมีการปรับเปลี่ยนแบบแผนการดำเนินชีวิตให้เหมาะสมเช่นการรับประทานอาหารประเภทผักผลไม้ที่มีกากใยมากขึ้น
ดื่มน้ำมาก ๆ
การออกกำลังกายเพื่อกระตุ้นการเคลื่อนไหวของลำไส้
ฝึกการขับถ่ายให้เป็นเวลา
บางรายให้ยาถ่าย แต่ไม่ควรให้รับประทานติดต่อกันเป็นประจำ
กรณีมีความผิดปกติจากพยาธิสภาพต้องผ่าตัด
ท้องเสีย Diarrhea
แบ่งตามกลไกการเกิดได้เป็น 3 ชนิดดังนี้
Osmotic diarrhea เกิดจากการที่สารซึ่งไม่สามารถดูดซึมได้ในลำไส้ดูดน้ำกลับสู่โพรงลำไส้
Secretory diarrhea เป็นการถ่ายอุจจาระที่มีปริมาตรมาก
Motility diarrhea
อาการขึ้นอยู่กับสาเหตุของท้องเสีย
ขาดน้ำขาดสมดุลของสารน้ำและอิเลคโทรลัยท์
metabolic acidosis
น้ำหนักลด
กรณีติดเชื้อเฉียบพลันจากแบคทีเรียหรือไวรัสอาจมีไข้ร่วมกับการปวดท้องเหมือนถูกบีบ (Cramping pain)
กรณีลำไส้อักเสบอาจถ่ายอุจจาระมีเลือดปน
กรณีมีความผิดปกติในการดูดซึมไขมันถ่ายอุจจาระมีไขมันปน (Steatorrhea)
การวินิจฉัย
ซักประวัติผู้ป่วยระยะเวลาเริ่มต้นความบ่อยลักษณะการถ่ายอุจจาระการรับประทานอาหารและน้ำที่ปนเปื้อนเชื้อโรคการได้รับการผ่าตัดลำไส้การได้รับรังสีรักษาการได้รับยาบางชนิดเช่นยาปฏิชีวนะยาขับปัสสาวะยาลดความดันโลหิตยาถ่าย
การตรวจร่างกาย
การตรวจเลือดเพาะเชื้อและอุจจาระเพื่อตรวจหาความผิดปกติ
การ X-ray ซ่องท้อง
การตัดชิ้นเนื้อของลำไส้เพื่อส่งตรวจ
การรักษา
การรักษาสมดุลของสารน้ำและอิเลคโทรลัยท์
ลดความไม่สุขสบายต่างๆและรักษาตามสาเหตุ
ถ้ามีอาการขาดน้ำและขาดสมดุลของอิเลคโทรลัยท์อย่างรุนแรงต้องได้สารน้ำทางเส้นเลือดดำ
ผู้ที่ท้องเสียเรื้อรังหรือมีปัญหาเรื่องการดูดซึมต้องได้สารอาหารทดแทนอย่างเพียงพอ
ให้ยาลดการเคลื่อนไหวของลำไส้ยาลดอาการปวดท้องและยาลดปริมาณและจำนวนครั้งของการถ่ายอุจจาระ
Hepatic encephalopathy
การวินิจฉัย
จากซักประวัติและตรวจร่างกาย
ตรวจเลือดและคลื่นสมอง
อาการและอาการแสดง
มีการเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพสูญเสียความจำอยู่ไม่สุขนอนไม่หลับ
มีความสับสนมือสั่น (flapping tremor) ซึมซักและโคม่าอาจเสียชีวิตได้
การรักษา
แก้ปัญหาการขาดสมดุลของสารน้ำและอิเลคโตรลัยท์
การระมัดระวังในการให้ยาที่มีการเปลี่ยนแปลงและมีการทำลายตับการลดระดับแอมโมเนียในเลือด
จำกัด อาหารประเภทโปรตีน
ให้ยา neomycin เพื่อขจัดแบคทีเรียในลำไส้
ให้ lactulose เพื่อช่วยลดการดูดซึมแอมโมเนียในลำไส้
Jaundice
สาเหตุ
มีการทำลายเม็ดเลือดแดงมากผิดปกติ
มีความบกพร่องของเซลล์ตับในการจับ bilirubin
ลดการ Conjugation ของ bilirubin
มีการอุดตันของทางเดินน้ำดีทั้งภายในและภายนอกตับ
ประเภทของ jaundice แบ่งเป็น 3 ประเภทดังนี้
prehepatic jaundice หรือมีการทำลายเม็ดเลือดแดงมากผิดปกติ
intrahepatic หรือ hepatocellular jaundice เกิดจากความผิดปกติของตับในการขจัด bilirubin ออกจากเลือดหรือ Conjugated
posthepatic หรือ distructive jaundice หรือ cholestatic jaundice เกิดจากการอุดตันของทางเดินน้ำดีระหว่างตับและลำไส้เล็ก
Ascites ภาวะท้องมาน
สาเหตุเกิด
โรคตับเรื้อรังโดยตับแข็ง (cirrhosis) พบบ่อยและมากที่สุด
มะเร็งหัวใจด้านขวาล้มเหลว
ตับอ่อนอักเสบ
การอักเสบในช่องท้องจากเชื้อวัณโรค (tuberculosis peritonitis)
nephrotic Syndromes
การวินิจฉัยและการรักษา
การเจาะท้องเพื่อดูดของเหลว (paracentesis) ครั้งละ 1 ถึง 2 ลิตรช่วยบรรเทาอาการหายใจไม่สะดวกและส่งตรวจเพาะเชื้อ
ควรรับประทานอาหาร จำกัด เกลือ
ให้ยาขับปัสสาวะชนิดที่ลดการสูญเสีย potassium
ตรวจ serum electrolytes เพื่อประเมินภาวะ hyponatremia และ hypokalemia