Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสภาพของกล้ามเนื้อและกระดูก - Coggle Diagram
พยาธิสภาพของกล้ามเนื้อและกระดูก
เซลล์ที่เป็นส่วนประกอบของกระดูก
Osteoprogenator cells
Osteoblast
Osteocytes
Osteoclast
หน้าที่ดูดซึมและทำลายกระดูก(resorption)ซึ่งosteoblastและosteoclastจะทำงานประสาร กันในขบวนการสร้างกระดูกการทำลายและดูดซึมกระดูก
มีบทบาทในการควบคุมระดับของแคลเซียมและฟอสฟอรัสในserum,osteocytesจะติดต่อกับเซลล์อื่น ๆ ผ่านทาง canaliculi ทำให้สารต่าง ๆ และ surface membrane potentials สามารถ ส่งผ่านถึงกันได้
พบอยูบ่ริเวณผิวของกระดูก หน้าที่สร้างขนส่งและจัดรูปสารพวกโปรตีนท่ีเป็นMetrixของ กระดูก มีreceptorsของฮอร์โมนที่จำเป็นต่อการสร้างกระดูกและทำลายกระดูกได้แก่ parathyroid hormone, Vit D, estrogen, cytokines ang growth factors เมื่อสร้าง Metrix ล้อมกรอบ ไว้แล้วจะเรียกว่าosteocytes
เป็นเซลล์ต้นกำเนิดของเน้ือเยื่อเกี่ยวพันพบอยู่บริเวณผิวของกระดูกทั่วร่างกาย เมื่อถูกกระตุ่นจะเปลี่ยนแปลงแบ่งเซลล์และเจริญไปเป็นOsteoblast
การเปลี่ยนแปลงของกระดูกและการควบคุม
กระดูก เป็นแหล่งสะสมแคลเซียมของร่างกาย
Calcium ใน plasma ลดลง
พยาธิสภาพของกระดูก
Pathology of Skeletal
ความหมาย
เป็นความผิดปกติที่เกิดข้ึนแล้วส่งผลทำให้ระบบกระดูกทำหน้าที่บกพร่อง
หน้าที่
เป็นแหล่ง สะสมของ CALCIUM
ช่วยในการเคลื่อนไหว
สร้างเม็เลือด
ปกป้องอวัยวะท่ีสำคัญภายใน
ร่างกาย
เป็นท่ียึดเกาะของเส้นเอ็นกล้ามเน้ือ
สาเหตุ
ความผิดปกติทางพันธุกรรม
การติดเชื้อ
ไม่ใช่การ ติดเชื้อ
ได้รับแรงกระแทก แตก หัก
ความเสื่อมตามวัย
ความเสื่อมจากพฤติกรรม
ความผิดปกติขององค์ประกอบอื่นท่ีสัมพันธ์กัน ได้แก่ กล้ามเน้ือ ข้อต่อ เส้นเอ็น ระบบประสาท
ความผิดปกติทางพันธุกรรม
OSTEOPET ROSIS
ส่วนใหญ่เกิดจากการทางานท่ีผิดปกติของ Osteoclast (Diseases cause by osteoclast dysfunction)
Osteopetrosis หรือเรียกว่าMarble bone disease หรือ Albers-Schonberg disease เกิดจากการทำงานของ Osteoclast ผิดปกติทำให้กระดูกหนาทั่วๆไป ทั้ง2 ข้างของร่างกาย
(diffuse symmetric skeleton sclerosis) กระดูกท่ีพบจะแข็งเหมือนหิน
(Stone like quality) แต่เปราะและแตกง่ายเหมือนชอล์ค
สาเหตุ
คาดว่าน่าจะมาจากการขาดเอนไซม
ลกัษณะกระดูกของผู้ป่วยOsteopetrosisจะเป็นกระดูกท่ี ไม่มีช่องไขกระดูกและผิดรูปร่าง
เริ่มเกิดโรคได้ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ เป็น autosomal recessive (อาการรุนแรง)ซึ่งส่วนใหญ่เด็กจะเสียชีวติทันทีหลังคลอด เนื่องจากน้ำคั่งในช่องสมอง(Hydrocephalus)แต่ถ้าไม่ เสียชีวิตมักจะมีปัญหากับcranialnerveก็จะพบว่ามีปัญหา การมองเห็นใบหน้าเป็นอมัพาตหหูนวก
หรืออาจเสียชีวติจากการติดเชื้อเนื่องจากไขกระดูกสร้าง เม็ดเลือดไม่เพียงพอพบตับและม้ามโตจากการสร้างเม็ด เลือดนอกไขกระดูก
กรณีเป็นautosomaldominantจะตรวจพบตอนเป็นวัยรุ่น หรือวัยผู้ใหญ่ ซึ่งจะพบกระดูกหักหลายตพแหน่ง ซีด มี ความผิดปกติของ cranial nerve
PAGET’S DISEASE
Paget’s disease (osteitis deformans) เป็นความผิดปกติของ คอลลาเจนในMetrixของกระดูกโดยเริ่มต้นคือกระดูกมีการอับเสบ (Osteitis)โดยเฉพาะการติดเชื้อจากเชื้อไวรัสชนิด ซึ่งจะกระตุ้นให้ร่างกายหลั่งIL-6แล้วOsteoblastจะหลั่ง อย่างมาก จนเกิดกระบวนการทำลายกระดูกจาก Osteoclast อย่างรุนแรง มากและมีการสร้างกระดูกใหม่ที่มีโครงสร้างผิดปกติมาทดแทน(พบในคนที่มีอายุ50ปีข้ึนไป) พบในคนผิวขาวเป็นส่วนใหญ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการจะพบalkalinephosphataseในซีรั่มสูง
เอ็กเรย์มักจะพบกระดูกเป็นmosaicpatternของlamellarboneคือ
มีลัดษณะเป็นรูปต่อ (Jigsaw puzzle)
อาการเด่นๆทางคลินิกคือ ปวดกระดูก อาจมีสาเหตุมาจากการเจริญ ของกระดูกมากไป จนไปกดทับเส้นประสาท spinal and cranial nerve roots
โรคที่เกิดจากการได้รับสารอาหารหรือเกลือแร่ผิดปกต
RICKETS AND OSTEOMALACIA
Rickets and Osteomalacia เป็นกลุ่มโรคที่มีสาเหตุแตกต่างกันแต่มีลักษณะของโรคคล้ายกัน คือ มีความผิดปกติในสารอนินทรีย์ใน Metrix ของกระดูก ซึ่งมักจะเกี่ยวข้องกับ การขาดวติามินD
Rickets หมายถึง ความผิดปกติของการเจริญเติบโตของกระดูกทำให้กระดูกผิดรูป แต่ถ้าเกิดในผู้ใหญ่ เรียก Osteomalacia
เกิดข้ึนในระหว่างงกระบวนการremodellingจะไม่มีการสะสมของสารอนินทรีย์ในกระดูกทำให้เน้ือกระดูกลดลง(Osteopenia)และหักง่าย
สาเหตุของโรคคือขาดวิตามิน D ขาดฟอสเฟต ขาด Alkaline phosphatase และอื่นๆ อีก หลายตัว
อาการเด่น ๆ ทางคลินิก คือ ปวดกระดูก เดินเหมือนเป็ด มีลักษณะ psuedofracture (ภาพเหมือนกระดูกหักแต่ไม่ใช่)เด็กที่เป็น Rickets จะมีขาโก่ง กระดูกอ่อนท่ีต่อกับกระดูกซี่โครงจะขยายใหญ
การตรวจเลือดจะพบว่ามีฟอสเฟตในเลือดต่ำต่อมพาราไธรอยดท์างานมากกว่าปกติแคลเซี่ยมในเลือดตาแคลเซี่ยมในปัสสาวะต่ำมาก(<50mg/day)
Osteoarthritis (OA)
โรคข้อเสื่อมหรือ degenerative joint disease (DJD) รู้จักกันกว้างขวางในชื่อosteoarthritis(OA)
ชื่ออื่นๆที่เรียกกัน
hypertrophicarthritis,osteoarthrosisหรือ senescent arthritis
ลักษณะที่เป็นคือการเสื่อมสภาพของกระดูกอ่อนผิวข้อทำให้ สูญเสียการเคลื่อนไหวปวดเรื้อรังโดยไม่ทราบสาเหตุ
เกิดบริเวณข้อที่รับน้ำหนักมาก ได้แก่ข้อสะโพก ข้อเข่า และข้อที่ ใช้งานมากได่แก่กระดูกสันหลังบริเวณต้นคอเอวข้อนิวมือ
พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย
พบในคนที่มีอายุระหว่าง50-70ปีส่วนมากพบในคนที่อายุ65ปีข้ึนไป
X-rayจะพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงที่กระดูกอ่อนผิวข้อ
คําศัพท์ทเกียวข้อง
Radius – กระดูกแขนด้านนอก
Patella – สะบ้า
Ulna – กระดูกแขนด้านใน
Rib – กระดูกซีกโครง
Skull – กระโหลกศีรษะ
Humerus – กระดูกต้นแขน
Scapula – กระดูกสะบัก
Femur – กระดูกต้นขา
Claviclel – ไหปลารา้
ข้อต่อและกระดูก
กระดูกทีละท่อนต่อเชือ มกันด้วยเอ็น ซึงต่อกันได้หล
ายแบบแล้วแต่การเคลือนทีการทีกระดูกประกอบด้
วยชิน เล็กชิน น้ อยมาต่อๆกันทําให้ร า่ งกายเคลือนไห
วอย่า งนิ มนวลราบรนื มากขึน
กระดูกแบบบานพับ เช่น
กระดูกต้นแขนข้อต่อบรเิ วณหัว เข่า
กระดูกทีเคลือนทีไม่ได้ เช่น กะโหลกศีรษะ
กระดูกเคลือนทีได้เล็กน้ อย เช่น
กระดูกบรเิ วณก้นกบ
กระดูกแบบหัว กลม เช่นกระดูกกะโหลกศีรษะกระดูกต้นคอกระดูกต้นขากระดูกสะบัก เปนต้น
การเคลือนไหวของข้อต่อ
เคลือนได้2 ระนาบ เช่น ข้อมือ กระดกขึน-ลง
เคลือนได้ 3 ระนาบ เช่น
ข้อไหล่ข้อสะโพกอาหารและยาทเรากินหรอื ฉี ดเข้าก
ล้ามเนือจะซึมผ่านกล้ามเนือไปจะซึมผ่านกล้ามเนื้อไปการฉี ดเข้าข้อต่อโดยตรงอาจเกิดอัน ตรายได้
เคลือนได้ระนาบเดียวกัน(แบบบานพับ) เช่น
ข้อศอกข้อเข่า
จํานวนของกระดูก (Number of bone)
จํานวนของกระดูกทังหมดในรา่ งกาย หมายถึง
กระดูกในผู้ใหญ่ที เจรญิ เต็มทีแล้ว มีทังสิน 206
ชิน โดยแบ่งเปนส่วนต่างๆ ดังนี้
กระดูกหน้าอก (Sternum) 1 ชิน
กะโหลกศรษี ะ( Cranium) 8 ชิน
กระดูกหน้า (Face) 14 ชิน
กระดูกหู (Ear) 6 ชิน
กระดูกโคนลิน (Hyoid bone) 1 ชิน
กระดูกสันหลัง 26 ชิน
กระดูกหน้าอก (Sternum) 1 ชิน
กระดูกซีกโครง (Ribs) 24 ชิน
กระดูกแขน (Upper extremities) 64 ชิน
กระดูกขา (Lower extremities) 62 ชิน
ระบบโครงกระดูกประกอบไปด้วยองค์ประกอบทีสําคัญมีดังนี
กระดูกอ่อ น (Cartilage)
ทําหน้าทีรองรบั ส่วนทีอ่อ นน่ ุม ของรา่ งกายเพือทีจะ
ทําให้ก ารเคลือนไหวได้สะดวกปองกันการเสียดสี
เนื องจากผิวของกระดูกอ่อ นเรยี บ
ข้อต่อ
(Joints)
คือส่วนต่อระหวา่ งกระดูกตังแต่สองชิน ขึนไปมาต่อกันเพือการเคลือนไหวของรา่ งกาย
กระดูก (Bone)
เปนส่วนทีแข็งทีสุด โครงกระดูกในผู้ใหญ่ประกอบด้วยกระดูกจํานวน206 ชิน ส่วนในทารกแรกเกิดจะมีกระดูกถึง
300ชิน เพราะกระดูกอ่อ นยัง ไม่ติดกันชิน เพราะกระ
ดูกอ่อ นยัง ไม่ติดกัน
เอ็น (Tendon)
ทีเปนเอ็น กล้ามเนื อและเอ็น ยึด ข้อ(Ligament) เปนเนื อเยือ ทีมีความแข็งแรงมากมีลักษณะเปนเส้
นใยเหนียวช่ว ยยึด กระดูกกับกล้ามเนื อส่วนต่าง ๆ ไวด้ ้วยกัน
การบํารุงรกั ษาและพัฒนาโครงรา่ ง
ข้อเคล็ด
เกิดจากเส้นเอ็น ทียึด ติดกระดูกฉี กขาดทําให้อัก เสบบวมบรเิ วณข้อต่อและห้อ เลือดรกั ษาโดยใช้น าแข็งประคบ
การนั งเอามือเท้าคาง หลังงอ
ทกให้ก รดูกสันหลังโก่งปวดหลัง
การเดินเอาส้นเท้าลงก่อน
ทําให้พ ยุงนาหนั กได้ดีเดินเรว็ แล้วมีความรูส้ ึกวา่ ตัว
เบากวา่ การเดินเอาปลายเท้าลง
หน้าอกแอ่น
ตะโพกยืน ทําให้ก ระดูกสันหลังช่ว งเอวแอ่น มากทําใ
ห้เ กิดอาการปวดหลัง
ท่ายืน ควรยืด ไหล่หลังตรง แอ่น เล็กน้ อยบรเิ วณคอ
ระบบโครงกระดูกเปนโครงสรา้ งของรา่ งกายช่ว ยป
องกันอวยั วะบอบบางต่างๆทีอยู่ภ ายในทีเกาะเกียวอยู่ภ ายในกระดูกแต่ละส่วนของรา่ งกายองค์ประกอบสําคัญอีก อย่า งหนึ งภายในกระดูกคือ ไขกระดูก
ขณะเดียวกันกระดูกยัง เปนแหล่งเก็บสะสมเกลือแ
รช่ นิ ดต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่า งยิงแคลเซียมและฟอสฟอรสั บรเิ วณรอบกระดูกจะมีเนือเยือ หนาห่อ หุ้มอยู่เ รยี กวา่ เยือ หุ้ม กระดูก(Periosteum)ซึงเยือ หุ้ม กระดูกนี ประกอบด้วยเซลล์กระดูกและหลอด-เลือด
อาหารบํารุงกระดูก
อาหารช่ว ยเสรมิ สรา้ งความแข็งแรงให้ก ระดูกเช่น อ
าหารพวกทีมีแคลเซียมสูง ได้แก่ นมสดไข่แดงผักใบเขียว ผลไม้ และอาหารทีมีวติ ามินดีเช่น นามันตับปลาผักสดการออกกําลังกายเปนประจําเปนส่วนหนึงทีช่วยพัฒนากระดูกให้เ จรญิ อย่า งเต็มทีและแข็งแรงระวงั อย่า ให้น าหนั กตัวมากเกินไปเพราะอาจทําให้ข ้อต่อชํา รุดเสือมสภาเรว็
แบ่งตามลักษณะกระดูก
กระดูกยาว ได้แก่ กระดูกแขน กระดูกขา
กระดูกสัน ได้แก่ กระดูกข้อมือ กระดูกข้อเท้า
กระดูกแบน ได้แก่ กระดูกซีกโครง
กระดูกอกกระดูกสะบัก
กระดูกยาว รูปรา่ งไม่แน่ นอน ได้แก่
กะโหลกศีรษะกระดูกสันหลัง กระดูกเชิง กราน
กระดูกลม
กระดูกโพรงกะโหลกศีรษะ
มนุษ ย์ม ีกระดูกทังหมด 206 ชิน แบ่งออกเปน
2 ประเภท คือ
กระดูกแกนกลางของรา่ งกาย (Axial skeletal) มีทังหมด 80 ชิน ได้แก่
กระดูกกะโหลกศรษี ะ (Cranium)
กระดูกใบหน้า (Bone of face)
กระดูกหู (Bone of ear)
กระดูกโคนลิน (Hyoid bone) 1 ชิน
กระดูกสันหลัง (Vertebrae) 26 ชิน
กระดูกทรวงอก (Sternum) 1 ชิน
กระดูกซีกโครง (Rib) 24 ชิน
กระดูกระยางค์ (Appendicular skeletal)ประกอบด้วยกระดูก 126 ชิน ได้แก่
กระดูกน่ อง (Fibula) 2 ชิน
กระดูกหน้าแข้ง (Tibia) 2 ชิน
กระดูกข้อเท้า (Tarsal bone) 14 ชิน
กระดูกฝาเท้า (Metatarsal bone) 10 ชิน
กระดูกนิวเท้า (Phalanges) 28 ชิน
กระดูกฝามือ (Metacarpal bone) 10 ชิน
กระดูกต้นขา (Femur) 2 ชิน
กระดูกเชิง กราน (Hip bone) 2 ชิน
กระดูกนิ วมือ (Phalanges) 28 ชิน
กระดูกข้อมือ (Carpal bone) 16 ชิน
กระดูกปลายแขน (Bone of forearm) ประกอบด้วย
กระดูกปลายแขนท่อนใน (Ulna) 2 ชิน
กระดูกปลายแขนท่อนนอก (Radius) 2 ชิน
กระดูกต้นแขน (Humerus) 2 ชิน
กระดูกไหล่ (Shoulder girdle) ประกอบด้วย
กระดูกไหปลารา้ (Clavicle) 2 ชิน
กระดูกสะบัก (Scapular) 2 ชิน
นางสาวณัฐรัตน์ วรรณภา UDA6380051