Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 พยาธิสรรีภาพของภาวะผิดปกติของระบบทางเดิน อาหาร, images,…
บทที่ 7 พยาธิสรรีภาพของภาวะผิดปกติของระบบทางเดิน อาหาร
สรีรวิทยาระบบทางเดินอาหาร
อวัยวะที่ช่วยย่อยอาหาร ได้แก่ ต่อมน้ำลาย (Salivary gland) ตับ (Liver) และตับอ่อน (Pancreas)
อวัยวะที่ทําหน้าที่เป็นทางผ่านของอาหาร (Alimentary tract) เริ่มต้นจากปาก (Mouth) หลอด คอหรือลําคอ (Pharynx) หลอดอาหาร (Esophagus) กระเพาะอาหาร (Stomach) ลําไส้เล็ก (small intestine) ลําไส้ใหญ่ (Large intestine) และทวารหนัก (Anus)
ระบบทางเดินอาหารตามสรีรวิทยา ทําหน้าที่
เป็นทางผ่านของอาหาร และของเหลวต่างๆ (Ingestion)
การดูดซึม (Absorption) สารอาหารเข้าสู่กระแสโลหิต
ย่อยอาหาร (Digestion) ให้อยู่ในสภาพที่ดูดซึมได
มีการเคลื่อนไว (motility) ของทางเดินอาหารและขับของเสียออกจากร่างกาย ทางอุจจาระ
การขับถ่ายอุจจาระผิดปกติ และโรคเกี่ยวกับระบบขับถ่ายอุจจาระ
Inflammatory bowel disease
ยังไม่ทราบแน่ชัด แต่พบผู้ป่วยในครอบครัวเดียวกัน กรรมพันธุ์และถูกกระตุ้นจาก สิ่งแวดล้อม เช่น การรับประทานอาหารที่ปนเปื้อน antigen หรือเชื่อโรค
ท้องผูก (constipation)
Diverticula disease
เป็นการที่ mucosa มีการเลื่อนหรอืมีลักษณะคล้ายถุงยื่นเป็นติ่งออกไป จาก muscle layer ของผนัง colon ถ้าไม่มีอาการแสดง
ความผิดปกความผิดปกติในการเคลื่อนไหว Gastroesophageal reflux disease (GERD)
GERD หมายถึง โรคที่มีเกิดจากผลของการย้อนขึ้นมาอย่างผิดปกติ ของน้ำย่อย กรด pepsin และน้ำดีและมีความผิดปกติในการกําจัดน้ำย่อยใน กระเพาะอาหารที่ย้อนขึ้นมาสู่หลอดอาหาร
ท้องเสีย (Diarrhea)
ท้องเสีย หมายถึง การเพิ่มจํานวนครั้งและเพิ่มปริมาตรสารน้ำของอุจจาระ ปัจจัยที่มีผลต่อ จํานวนและปริมาตรของอุจจาระ
ความผิดปกติในการดูดซึม (malabsorption
Syndromes)
ความผิดปกติในการดูดซึมสารอาหารในลําไส้เล็ก
Intestinal Obstruction
เกิดจากถูกขัดขวางการเคลื่อนผ่านของ chyme สู่ intestinal lumen
โรคในระบบทางเดินอาหาร
ความผิดปกติของผนังอาหาร
Hiatal hernia
paraesophageal (rolling) hiatal hernia
แผลในทางเดินอาหาร (Peptic Ulcer)
แผลในทางเดินอาหารจากภาวะเครียด (Stress ulcer)
แผลในกระเพาะอาหาร
เกิดจากการขาดสมดุลระหว่างปัจจัยที่ทําลาย mucosa เช่น gastric acid, pepsin, bile acids และกลไกการป้องกัน mucosa
กระเพาะอาหารอักเสบและแผลในทางเดินอาหาร
กระเพาะอาหารอักเสบ หมายถึง การอักเสบของ gastric mucosa อาจเกิดจากสารที่ ก่อใหเ้กิดการระคายเคือง
กระเพาะอาหารอักเสบชนิดเฉียบพลัน (Acute gastritis)
แผลในลําไส้เล็กส่วนต้น (Duodenal ulcer)
เกิดจากการขาดสมดุลระหว่างกลไกการป้องกันของเยื่อบุและฤทธิ์การย่อยกัดกร่อนของ acid-pepsin อาจตรวจพบ hydrochloric acid ปกติ
หลักการรักษาแผลในทางเดินอาหาร
ส่งเสริมการหายของแผล
ภาวะแทรกซ้อนของแผลในทางเดินอาหาร
การเกิดแผลทะลุ(Perforation)
การตรวจวินิจฉัยแผลในทางเดินอาหาร
ส่องกล้อง (endoscopy) และตัดชินเนือส่งตรวจ
เจาะเลือดหาระดับ gastrin
ภาวะผิดปกติของโภชนาการ
โภชนาการ คือ การศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างอาหารและสุขภาพของร่างกาย ทั้งในแง่ ปริมาณและสัดส่วนของสารอาหารที่ร่างกายควรได้รับ
ภาวะทุพโภชนาการ (Malnutrition)
เป็นภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารจําเป็นในปริมาณที่ไม่ถูกต้องเป็นเวลานานๆ จนส่งผลให้ เกิดความผิดปกติทั้งทางร่างกาย
ภาวะที่มีโภชนาการเกิน (Overnutrition) เกิดจากการได้รับสารอาหารมากเกินพอ หรือไม่สมดุลเป็นเวลานานๆ
รับประทานอาหารมากเกินไป แล้วไม่มีเวลาออกกําลังกาย
พฤติกรรมการใชชีวิตประจําวันที่ไม่เหมาะสม มีการใช้พลังงานต่ำ
พันธุกรรม
โรคบางชนิด เช่น Cushing ‘s Syndrome เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนในร่างกาย
ภาวะการขาดวิตามิน
โรคขาดวิตามินเอ
โรคขาดวิตามินบีหนึ่ง
โรคขาดวิตามินบีสอง
โรคขาดวิตามินซี
โรคขาดธาตุไอโอดีน
โรคขาดธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรส
โรคขาดธาตุเหล็ก
ภาวะขาดสารอาหาร (Under nutrition or
nutritional deficiency)
การขาดโปรตีนและพลังงาน (Protein energy malnutrition; PEM หรือ protein calorie malnutrition; PCM)
Marasmus โรคที่เกิดจากการขาดพลังงานและโปรตีนเป็นเวลานาน
Kwashiorkor โรคที่เกิดจากการขาดสารอาหารโปรตีนเรื่อรัง
Anorexia nervosa and bulimia เป็นความผิดปกติของการกิน (eating disorder)
ความผิดปกติของการย่อยและการดูดซึมอาหาร
ได้แก่ โรคลําไส้สั้น โรคลําไส้อักเสบและภาวะตับอ่อนล้มเหลว
ส่วนผู้ป่วยที่มีภาวะตับอ่อนล้มเหลวจะมีการผลิตเอนไซม์ย่อยอาหารลดลง ส่งผลให้ร่างกายมีภาวะย่อยอาหารผิดปกติและลําไส้ดูดซึมสารอาหารได้ไม่ดีและอาจนําไปสู่ภาวะทุพโภชนาการได้ในที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้ป่วยโรคตับอ่อนอักเสบเรื้อรังจะมีความเสี่ยงสูงของการเกิดภาวะทุพโภชนาการ
โรคที่เรียกกันว่าลําไส้สั้นเกิดขึ้นได้จากการผสมผสานกันระหว่างการสูญเสียลําไส้ไปบางส่วนเนื่องจาก ถูกผ่าตัดออกไป และหรือลําไส้ส่วนที่เหลืออยู่ทำงานผิดปกติ ส่งผลให้ลดการดูดซึมสารอาหารของลําไส้
เมื่อร่างกายมีภาวะย่อยอาหารหรือการดูดซึมสารอาหารผิดปกติมักนําไปสู่ภาวะทุพโภชนาการ ซึ่งมักเกิดขึ้นได้บ่อยในผู้ที่มีโรคหรือความผิดปกต่างๆ
กระบวนการเมตตาบอลิสม
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
การย่อยเชิงกล (Mechanical digestion) เป็นกระบวนการทําให้อาหารเล็กลงแต่ยังไม่เล็กที่สุด เพื่อสะดวกต่อการเคลื่อนที่โดยการบดเคียว และการบีบตัวของทางเดินอาหาร
การย่อยทางเคมี(Chemical digestion) เป็นการย่อยอาหาร ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีนและไขมันใหม่ขนาดเล็กที่สุด
อวยัวะที่ช่วยย่อยอาหาร
กระเพาะอาหาร (Stomach) ผลิตน้ำย่อยเพปซินย่อยโปรตีนให้เป็นโปรตีนสายสั่น (เพปไทด์) และน้ำย่อยเรนนิน ย่อยโปรตีนในนมให้เป็นโปรตีนเป็นลิ่มๆ
ต่อมน้ำลาย (Salivary Gland) ผลิตน้ำย่อยอะไมเลส (Amylase) ย่อยแป้งใหเ้ป็นน้ำตาล มอลโทส
รงควัตถุน้ำดี(Bile Pigment) เกิดจากการสลายตัวของฮีโมโกลบิน (Hemoglobin) โดย ตับเป็นแหล่งทําลายและกําจัด Hemoglobin ออกจากเซลล
ตับ (Liver) ผลิตน้ำดีแล้วถูกนําไปเก็บไวที่ถุงน้ำดี (Gall Bladder) ย่อยไขมันให้เป็น ไขมันแตกตัวเป็นเม็ดเล็กๆ
โคเรสเตอรอล (Cholesterol) ถ้ามีมากๆ จะทําใหเ้กิดนิ่ว ในถุงน้ำดีเกิดการอุดตันที่ท่อ น้ำดีเกิดโรคดีซ่าน (Janudice) มีผลทําให้การย่อยอาหารประเภทไขมันบกพร่อง
ลําไส้เล็ก (Small Intestine) ผลิตน้ำย่อยมอลเทส ย่อยน้ำตาลมอลโทสให้กลายเป็น น้ำตาลกลูโคส น้ำย่อยซูเครส ย่อยน้ำตาลซูโครสให้เป็นน้ำตาลกลูโคสและน้ำตาลฟรักโทส
ตับอ่อน (Pancreas) ผลิตน้ำย่อยลิเพส ย่อยไขมันแตกตัวให้เป็นกรดไขมันและกลีเซอรอล น้ำย่อยทริปซิน ย่อยโปรตีนให้เป็นพอลิเพปไทด์และไดเพปไทด
การดูดซึมในลําไส้ใหญ่
อาหารที่ไม่ถูกย่อยหรือย่อยไม่ได้เช่น เซลลูโลส ถูกส่งไปยังลําไส้ใหญ่ เซลล์ที่บุผนังลําไส้ใหญ่ ดูดน้ำแร่ธาตุวิตามินและกลูโคสจากกากอาหารเข้ากระแสเลือด
การดูดซึมอาหารในลําไส้เล็ก
การดูดซึมอาหาร หมายถึง กระบวนการที่นําอาหารที่ผ่านการย่อยจนได้เป็นสารโมเลกุลเดี่ยว
นายพลกฤษ สีดาห้าว UDA6380001