Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงการควบคุมการเจริญเติบโต และเมตาบอลิซึมของต่อมไร้ท่อ, ่, ่,…
การเปลี่ยนแปลงการควบคุมการเจริญเติบโต
และเมตาบอลิซึมของต่อมไร้ท่อ
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการทำงานของต่อมไร้ท่อ
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง(pituitarygland)
-ต่อมใต้สมองส่วนหน้าanterior pituitary
-ต่อมใต้สมองส่วนกลาง interior pituitary
-ต่อมใต้สมองส่วนหลังposteriorpituitary
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า anterior pituitary ควบคุมการหลั่งฮอร์โมนไฮโปทาลามัสโดยหลั่ง releasing/inhibiting ผ่านทางเส้นเลือด portal vessel
กลไกการท าหน้าที่และการเปลี่ยนแปลงของ Posterior pituitary gland
เป็นส่วนหนึ่งของเนื้อเยื่อประสาท ที่เรียกว่าNeurohypophysisไม่ได้สร้างฮอร์โมนได้เอง แต่มีปลายแอกซอนของนิวโรซีครีทอรีเซลล์ จากสมองส่วนไฮโปทาลามัสมาสิ้นสุด และหลั่งฮอร์โมนประสาทออกมาสู่กระแสเลือดเข้าสู่เส้นเลือดที่มาเลี้ยงต่อมใต้สมองส่วนหลังดังนั้นฮอร์โมนที่หลั่งออกมาจากต่อมใต้สมองส่วนหลังก็คือ ฮอร์โมนประสาทนั่นเอง
การขาด ADH
เป็ น Diabetes insipidus (DI)
ปัสสาวะไม่เข้มข้น ปัสสาวะเจือจางมาก
เกิดจาก Tumors of periventricular area
กลไกการทำหน้าที่และการเปลี่ยนแปลงของ Thyroid gland
ผลิตและหลั่งไทรอยด์ฮอร์โมนเข้าสู่กระแสเลือด จากนั้นส่งไปออกฤทธิ์ที่อวัยวะต่างๆของร่างกาย ซึ่งจะอยู่ภายใต้การควบคุมของต่อมใต้สมอง(Pituitary gland)และต่อมไฮโปธาลามัส(Hypothalamus) โดยร่างกายจะมีระบบการควบคุมการทำงานของต่อมไทรอยด์อย่างดี เพื่อรักษาระดับไทรอยด์ฮอร์โมนให้อยู่ในเกณฑ์ปกติตลอดเวลา
Hormones of the Thyroid Gland
Triiodothyronine (T3)
Thyroxine (T4)
Calcitonin
การทำงานของไฮโปธาลามัสและต่อมพิทูอิทาริ
ไฮโปทาลามัสทำหน้าที่ควบคุมกระบวนการเมแทบอลิซึมบางอย่าง และหน้าที่อื่นๆ ของระบบประสาทอัตโนมัติ (Autonomic Nervous System) ไฮโปทาลามัสทำหน้าที่สังเคราะห์และหลั่งฮอร์โมนประสาท (neurohormones) ซึ่งมักเรียกว่า hypothalamic-releasing hormones ซึ่งทำหน้าที่ในการกระตุ้นหรือยับยั้งการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง (pituitary gland)
ต่อมพิทูอิทารี Pituitary gland หรือ ต่อมใต้สมอง อยู่บริเวณใต้สมองหรือฐานของกะโหลกศีรษะด้านซ้ายบริเวณขมับมีลักษณะกลมขนาดเท่าถั่วลันเตาขนาด 5 ndash 10 มม หนักประมาณ 0 5 กรัม ต่อมนี้แบ่งออกเป็น 2 lobe คือ 1ต่อมใต้สมองส่วนหน้า Anterior lobe ผลิตฮอร์โมนที่เกี่ยวกับการเจริญเติบโต 1.ต่อมใต้สมองส่วนหลัง Posterior lobe ผลิตฮอร์โมนที่มีอิทธิพลต่อความดันโลหิตและผลิต Oxytocin ในสตรี เพื่อช่วยให้มดลูกบีบตัวในการคลอดบุตรและกระตุ้นการผลิตน้ำนม
กลไกการทำหน้าที่และการเปลี่ยนแปลงของต่อมพิทูอิทาริส่วนหน้าAnterior pituitary gland
ฮอร์โมนที่สร้างจากhypothalamusที่ควบคุมการทำงานของต่อมใต้สมองส่วนหน้า
Corticotropin-releasing hormone (CRH)
Thyrotropin-releasing hormone (TRH)
Gonadotropin-releasing hormone (GnRH)
. Growth hormone-releasing hormone (GRH)
Growth hormone-inhibiting hormone (GIH)
Prolactin-releasing factor (PRF)
Prolactin-inhibiting factor (PIF)
กลไกการทำหน้าที่และการเปลี่ยนแปลงของ Adrenal gland
Adrenal Cortex
ฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ ( glucocorticoids )
ฮอร์โมนมินเนอราโลคอร์ติคอยด์ (mineralocorticoid)
ฮอร์โมนเพศ ( sex hormone )
Adrenal Medulla
ฮอร์โมนเอพิเนฟริน ( epinephrine hormone ) หรือ อะดรีนาลิน (adrenalin hormone )
ฮอร์โมนนอร์อิพิเนฟริน ( norepinephrine hormone ) หรือ นอร์อะดรีนาลิน (noradrenalin hormone )
Adrenocortical Hyperfunction
Cushing’s Syndrome & Cushing’s Disease
Addison’s disease
AdrenogenitalSyndrome
กลไกการทำหน้าที่และการเปลี่ยนแปลงของ Parathyroid gland
Parathyroid Hormone
กลไกการควบคุมการหลั่ง PTH เป็นกลไกแบบยับยั้งย้อนกลับ โดยใช้ระดับความเข้มข้นของ Ca ในเลือด
เมื่อ Ca ในเลือดสูงขึ้นจะมีผลให้ PTH หลั่งลดลง แต่เมื่อ Ca ลดลง PTH จะหลั่งออกมามากขึ้น โดยทั่วไปการทำงานของ PTH จะทำงานร่วมกันกับฮอร์โมน
แคลซิโทนิน (calcitonin) จากต่อมไทรอยด์ ฮอร์โมนแคลซิโทนิน เป็นฮอร์โมนที่ผลิตจาก C- cell หรือ parafollicular cell ที่อยู่ข้างๆฟอร์ลิเคิลในต่อมไทรอยด์ เป็น
ฮอร์โมนที่มีหน้าที่ในการควบคุมระดับแคลเซี่ยมในเลือดเช่นเดียวกับฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ แต่จะทำงานเมื่อระดับของ Ca ในเลือดสูงกว่าปกติ โดยไปยับยั้ง
การสลายตัวของกระดูกและการดูดซึมเเคลเซียม
Calcium Metabolism
ภาวะแคลเซียมต ่าสามารถกระตุ้นให้ต่อมพาราไธรอยด์หลั่ง PTH โดยผ่านการรับรู้ของ
calcium sensing receptor (CaSR) ที่บริเวณ cell membrane ของเซลพาราไธรอยด
HYPOPARATHYROIDISM
ภาวะที่ต่อม
ไทรอยด์สร้างฮอร์โมนออกมามากว่าปกติ ผู้ป่วยมีอาการอารมณ์
แปรปรวน นอนไม่หลับ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ตาโปน มือสั่น ใจสั่น
เหนื่อยง่าย คอพอก ประจ้าเดือนผิดปกติ ขี้ร้อน น้้าหนักลดแม้ว่าจะ
รับประทานอาหารได้ดี อาการเป็นพิษของต่อมไทรอยด
goiter หมายถึงภาวะที่ก้อนในต่อมไทรอยด์ท้างานสร้างฮอร์โมน
เพิ่มขึ้น อาจก้อนเดียวหรือหลายก้อนก็ได้ และสาเหตุที่พบน้อยกว่า
โรคอื่นคือ thyroiditis ช่วงแรกของต่อมไทรอยด์อักเสบจะมีอาการของ
คอพอกเป็นพิษ
่
่
่
่
่