Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาของระบบกระดูกและข้อต่อ - Coggle Diagram
พยาธิสรีรวิทยาของระบบกระดูกและข้อต่อ
ภาวะแทรกซ้อนของกระดูกหัก :<3:
Fat embolism เป็นกลุ่มอาการไขมันอุดตันในหลอดเลือดที,รุนแรงถึงขั้น เสียชีวติ
Volkmann ,s contracture เป็นอาการต่อจาก Compartment syndrome ทําให้เกิดการตายของ กล้ามเนื้อ
Compartment syndrome เป็นผลจากการที่กล้ามเนื้อในบริเวณกระดูกหัก มีความดันสูงเกินไป
การบาดเจ็บต่อเส้นประสาท ทําให้เกิดอาการชา
การจําแนกประเภทกระดูกหักตามลักษณะของการหัก:<3:
Linear fracture :fire:
คือกระดูกที่หัก ทํามุมในแนวขนานกับแนวยาวของกระดูก
Transverse fracture :fire:
คือกระดูกที่หัก ทํามุมแนวตัดขวางกับกระดูก
Oblique fracture :fire:
คือกระดูกที่หัก ทํามุมแนวเฉียงกับกระดูก
Comminuted fracture :fire:
คือกระดูกหัก ในบรเิวณเดียวกันแตกออกเป็น 2 ชิ้น หรือมากกวา
Complete fracture :fire:
กระดูกหัก แล้วมีการเคลื่อนที่ของกระดูกชิ้น ที่หัก แยกออกจากกัน
Incomplete fracture :fire:
กระดูกที่มีรอยแตกร้าวหรือหัก แต่ไม่มีการเคลื่อนที่ของชิ้น กระดูกแยก ออกจากกัน
Open fracture :fire:
Complete fracture หรือ Incomplete fracture ที่ผิวหนังมีแผลเปิดออก
เพราะกระดูกที่หัก แทงทะลุผิวออกมา
หน้าที่ของกระดูก :<3:
ป้องกันอันตรายให้กับอวัยวะสําคัญต่าง ๆ เชน่ สมอง หัวใจ ปอด
รักษาสมดุลของเกลือแร่
เป็นส่วนประกอบสําคัญในการเคลื่อนไหว การทํากิจกรรมต่าง ๆ
โครงสร้างของกระดูก (structural of bone) :<3:
ไขกระดูก (bone marrow)
กระดูกพรุน (spongy bone)
กระดูกทึบ (compact bone)
อาการและอาการแสดง :<3:
มีอาการชา
สูญเสียการรบัความรู้สึกจากการที่เส้นประสาทถูกกดหรือถูกทําลาย
อาการปวดบวมหรือมีแผลบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บ อาการปวดเกิดจากกล้ามเนื้อหดเกร็งบริเวณที่กระดูกหักและเนื้อเยื่อถูกทําลาย
กล้ามเนื้อหดเกร็งจากการที่กระดูกไม่อยู่ในตําแหน่งเดิม
การเคลื่อนไหวลดลง มีเสียงกรอบแกรบ
การซ่อมแซมกระดูกหัก (bone repair) :<3:
Remodeling ระยะที่มีการเชื่อมกระดูกเมื่อกระดูกที่หัก ได้พักนิ่งมีหิน ปูนมาเกาะที่ callus จะทําให้กระดูกงอกใหม่เจริญ
Hematoma การมีลิ่มเลือดเกิดขึ้น
Hard callus คือการสร้างเนื้อเยื่อกระดูกใหม่ที่หนาขึ้น
Soft callus หรือ Fibrocartilaginous callus
เป็นการการสรา้งเนื้อเยื่อ ใหม่ มีหลอดเลือดฝอย
สรีรวิทยาของกระดูก :<3:
กระดูกเป็นอวัยวะที่มีความสําคัญในการทํากิจกรรมต่างๆ เป็นอวัยวะที่มีเมตาลิซึมสูง มีความสําคัญในการรักษาสมดุลเกลือแร่ในร่างกาย
ส่วนประกอบของกระดูก (bone Metrix) :<3:
ร้อยละ 60 ของกระดูกเป็นผลึกของเกลือ (mineral metric) โดยเฉพาะแคลเซียม ฟอสเฟต มีส่วน น้อยที่เป็น โพแทสเซียม แมกนีเซียม :fire:
ร้อยละ 30 เป็นสารอนิ ทรีย์(organic metric) :fire:
osteoblast เป็นเซลล์สร้างเนื้อกระดูกที่เจริญ พัฒนามาจากเซลล์ต้นกําเนิดเซลล์กระดูก (osteoprogenitor cell) :star:
osteocyte เป็นเซลล์กระดูกเจริญเต็มที่มาจาก osteoblast รอบๆ เซลล์มีช่อว่างที่เรยีกว่า “lacuna”
osteoclast เป็นเซลล์สลายกระดูกสร้างมาจากไขกระดูก (bone marrow) มีลักษณะ เดียวกันกับ เซลล์เม็ดเลือดขาวชนิด macrophage เป็นเซลล์ที่มีหลายนิวเคลียสอยู่บ่นผิวหน้าของกระดูก osteoclast
การเกิดของกระดูก :<3:
Intracartilagenous ossification :fire:
ส่วนมากกระดูกในร่างกายมนุษย์เกิดโดยวิธีนี้เป็นการสร้างกระดูก ตั้งแต่ทารกในครรภ์โดยสร้างจากกระดูกอ่อน (cartilage)
Intramembranous ossification :fire:
กระดูกที่กําเนิดจาก membrane เช่น กระดูกกะโหลก ศีรษะกระดูกชนิดนี้เจริญ มาจากชั้น fibrous ของสมอง
กระบวนการก่อรูปกระดูก :<3:
ระยะที, 1 เซลล์กระดูกได้รับ การกระตุ้นจากสิ่งกระตุ้นต่างๆ เช่น ฮอร์โมน ยา วิตามิน ทําให้เซลล์กระดูก กลายเป็น osteoclast
ระยะที่ 2 osteoclast กัดกร่อนกระดูกใหเ้ป็นรูปโคน ข้างในเป็นโพรง
ระยะที่ 3 สรา้งกระดูกใหม่โดย osteoblast
การควบคุมการสร้างกระดูก : :fire:
การสร้างกระดูกถูกควบคุมด้วยกลไกการักษาสมดุลของแคลเซียมในกระแสเลือด
พาราไทรอยด์ฮอร์โมน (parathyroid hormone: PTH) สร้างมาจากต่อมพาราไทรอยด์มีหน้าที่ป้องกันไม่ให้ระดับแคลเซียมในเลือดต่ำกว่า ปกติและควบคุมระดับฟอสเฟตในเลือดไม่ให้สูงกว่า ปกติ
ฮอร์โมนแคลซิโทนิน (calcitonin) เป็นฮอร์โมนที่สร้างมาจากต่อมไทรอยด์ทําหน้าที่จะลดระดับ แคลเซียมในเลือดให้เป็นปกติ
วิตามินดีหรือ cholecalciferol มีบทบาทสําคัญในการสร้างและสลายกระดูก โดยร่างกายสามารถ สังเคราะห์วิตามินดีได้จากสาร 7- dehydrocholesterol
ฮอร์โมนเอสโตรเจน (estrogen)
จะลดความไวของตัวรบัที่กระดูกที่เกิดจากพาราไทรอยด์ฮอร์โมน
การบาดเจ็บของกระดูกและกล้ามเนื้อ :fire: (Skeletal trauma)
กระดูกหัก (skeletal fracture) :star:
คือ ภาวะที,กระดูกมีการแตกหัก แล้วอาจจะมีหรือไม่มีการเคลื่อนย้าย ออกจากกัน กระดูกหัก เกิดเมื่อมีแรงภายนอกที,มีค่ามากกว่า แรงที่เกิดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อหรือแรงกดที่ เกิดจากน้ำหนักตัวที่กระทําต่อกระดูก
พยาธิสรีรวิทยาของกระดูกบาดเจ็บ :<3:
เมื่อกระดูกหัก เยื่อหุ้ม กระดูกและเส้นเลือดในบริเวณกระดูกส่วนนอก ไขกระดูกและเนื้อเยื่อที่อยู่รอบ ๆ ก็จะฉีกขาดด้วย ทําให้มีเลือดออกตรงบริเวณกระดูกหัก เกิดจากการฉีกขาดของเนื้อเยื่อที่บริเวณส่วนปลาย ของกระดูกที่หัก และจากเนื้อเยื้อบริเวณใกล้เคียงแล้ว ก้อนเลือดที,แข็งตัวเกิดขึ้นภายในโครงกระดูกอยู่ระหว่าง ส่วนปลายของกระดูกหัก และใต้เยื่อหุ้มกระดูกเนื้ออเยื่อกระดูกที่อยู่ให้ ใกล้เคียงกันกับบริเวณกระดูกหัก จะตาย
เนื้อเยื่อที่ตายเหล่านี้จะกระตุ้นให้เกิดการอักเสบทันทีร่างกายจะตอบสนองด้วยการขยายตัว ของเส้นเลือดมีการหลั่งของสารคัดหลั่งจากพลาสมาและเซลล์เม็ดเลือดขาวตรงบริเวณที่มีการอักเสบและการ ดักจับเชื้อ โรคด้วยเซลล์เม็ดเลือดขาวขณะที่มีการอักเสบและ mast cell ซึ่งจะไปสลายกระดูกบริเวณส่วน ปลายของกระดูกที่หักภายใน 48 ชั่วโมงหลังจากที่ได้รับการบาดเจ็บ หลังจากนั้นจะเกิดการซ่อมแซมกระดูก ต่อไป
การจําแนกประเภทของการหัก ตามสาเหตุการหัก :<3:
กระดูกหักที่เกิดจากแรงภายนอกที่กระทําต่อกระดูก :fire:
insufficiency fracture เป็น stress fracture ที่พบในกระดูกที่ขาดความสามารถใน การปรับเปลี่ยนรูปร่างให้กลับคืนสู่สภาพเดิม
fatigue fracture เกิดจากแรงภายนอกที่กระทําต่อกระดูกแล้วทําให้กระดูกผิดรูปแต่ยังสามารถคืนสภาพเดิมได้
กระดูกหักที่เกิดจากพยาธสิภาพของกระดูก :fire:
กระดูกหักผ่านข้อ :fire: