Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ ศ ๒๕๖๔ - Coggle Diagram
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พ ศ ๒๕๖๔
มาตรฐานการศึกษา ระตับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน
๑/๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
๑/๒ คุณสักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัตการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
๒ มีระบบบริหารจัตการคุณภาพของสถานศึกษา
๓ ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เนั้นคุณภาพผู้เรียนรอบต้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย
๔ พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
๑ มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัตเจน
๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
๓ มีการบริหารจัตการชั้นเรียนเชิงบวก
๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
๒ ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
๑ จัดการเรียนรู้ผ่นกระบวนการศิตและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน
๑/๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิขาการของผู้เรียน
๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา
๓) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
๔) มีความสามารถในการใช้เทตโนโสยีสารสนเทศและการสื่อสาร
๕) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
๖) มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
๑) มีความสามารถในการอำาน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ
๑/๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
๑) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด
๒) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
๓) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
๔) สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม
มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเด็ก
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเต็กเป็นสำคัญ
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
๒ จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน
๓ ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวซาญด้านการจัดประสบการณ์
๑ มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น
๔ จัตสภาพแวตล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และเพียงพอ
๕ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์
๖ มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเด็ก
๒ มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสตงออกทางอารมณ์ได้
๓ มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ตีของสังคม
๑ มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุชนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้
๔ มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้
มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
๒ สร้างโอกาสให้เต็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข
๓ จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย
๑. จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ
๔ ประเมินพัฒนาการเด็กกตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุง
การจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก
มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน
๑/๑ ผลการพัฒนาผู้เรียน
๑/๒คุณสักษณะที่พึ่งประสงค์ของผู้เรียน
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัตการ
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน
๑/๑ ผลการพัฒนาผู้เรียน
๒)มีความพร้อมสามารถเข้าสู่บริการช่วงเชื่อมต่อหรือการส่งต่อเข้าสู่การศึกษาในระดับที่สูงขึ้นหรือการอาชีพหรือการดำเนินชีวิตในสังคมได้ตามศักยภาพของแต่ละบุคคล
๑)มีพัฒนาการตามศักยภาพของแต่ละบุตคลที่แสดงออกถึงความรู้ความสามารถทักษะตามที่ระบุไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล หรือ แผนการให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว
๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
๒) มีความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทยตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบุคคล
๑) มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่สถานศึกษากำหนด
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
๓ ตำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบต้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและ ทุกกลุ่มเป้าหมาย
๔ พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
๒ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
๑ มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
๖ จัตระบบเทคโนโลยีสารสนทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
๓ มีการบริหารจัดการขั้นเรียนเชิงบวก
๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
๒ ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ช้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
๑ จัตการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกติใช้ในชีวิตได้