Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีโรคร่วมกับการตั้งครรภ์, 2 hour 165mg/dL…
การพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีโรคร่วมกับการตั้งครรภ์
โรคหัวใจ
การพยาบาลระยะคลอด
การพยาบาลระยะหลังคลอด
การดูแลผู้คลอดที่เป็นโรคหัวใจ
ลดการทำงานของหัวใจ
ป้องกันการติดเชื้อ
การพยาบาลระยะตั้งครรภ์
โรคเบาหวาน
การวินิจฉัยเบาหวาน
เมื่อตรวจพบน้ำตาลในปัสสาวะ
การตรวจ GCTหรือ GST โดยการกินน้ำตาล 50 กรัม หากน้ำตาลในเลือด มากกว่า 140 มก/ดล. ให้ตรวจยืนยันต่อด้วย OGTT
100 gm OGTT
วิธีการตรวจคัดกรองภาวะเบาหวาน
ในระหว่างตั้งครรภ์
Universal Laboratory screening
Risk factors – based screening
ไม่สามารถนำอินซูลินมาใช้หรืออินซูลินไม่พอจากฮอร์โมนจากรก
การประเมินความเสี่ยงสูง ต่อการเป็นเบาหวาน
ในขณะตั้งครรภ์
การดูแลในระหว่างตั้งครรภ์
การดูแลในระหว่างเจ็บครรภ์
การดูแลหลังคลอด
ธาลัสซีเมีย
การพยาบาลระยะตั้งครรภ์
การพยาบาลระยะคลอด
โรคติดเชือในระบบทางเดนิ ปัสสาวะ
โรคติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะที่ไม่มีอาการ (asymtomatic bacteriuria)
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (cystitis)
กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน (acute pyelonephritis)
โรคไทรอยด์
การพยาบาลระยะตั้งครรภ์
การพยาบาลระยะระยะคลอด
การพยาบาลระยะระยะหลังคลอด
Asthma
การพยาบาลระยะตั้งครรภ์
การพยาบาลระยะระยะคลอด
การพยาบาลระยะระยะหลังคลอด
2 hour 165mg/dL
ผิดปกติ ตั้งแต่ 2 ค่าขึ้นไป
GDM
GDMA1 (FBS น้อยกว่า105 )
GDMA1 (FBS น้อยกว่า105 )
• ให้คำแนะนำในการพาสามีมาตรวจเลือดเพื่อคัดกรองพาหะ
• ให้ความรู้แกhสตรีตั้งครรภ์เกี่ยวกับโรคธาลัสซีเมีย
• ให้คำแนะนำในการดูแลตนเองเกี่ยวกับการรับประทานอาหารที่มีโฟลิคสูง
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง
ไม่เร่งคลอดโดยใช้ oxytocin เพราะเมื่อมดลูกหดรัดตัวถี่ เลือดจะไหลกลับเข้าหัวใจมาก หัวใจทำงานหนัก
ขณะเจ็บครรภ์นอนท่า Semi recumbent (นอนหงายหัวสูง 45 องศา)
-หลีกเลี่ยงท่าคลอดที่ทำให้เลือดกลับเข้าสู่หัวใจ เช่น Lithotomy นอนหงายชันเข่า
-เลือกวิธีคลอดทีไม่ทำให้ออกแรงมาก เช่น ใช้คีม
-หลังคลอด ไม่ใช้ยา Ergotamine (methergin ) ควรใช้ oxytocin
-ป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
พิจารณาให้ยาปฏิชีวนะ
หลีกเลี้ยงการเจาะถุงน้ำหากจำเป็นสามารถทำได้ตอนท้ายๆของ Active Phase
• พักผ่อนให้เพียงพอ
• จำกัดกิจกรรมและการออกกำลังกาย
• การดูแลและให้ความช่วยเหลือด้านจิตใจ
• อธิบายให้เข้าใจถึงการรักษาด้วยยาในรายที่ต้องได้รับยา
• รับประทานอาหารที่มีคุณประโยชน์ต่อร่างกาย
• แนะนำการนับและบันทึกลูกดิ้น
• การเพศสัมพันธ์
• การมารับบริการฝากครรภ์และคำแนะนำที่เหมาะสมในระยะตั้งครรภ์
•อาการและอาการแสดงที่ควรพบแพทย์ทันที
หอบเหนื่อยมาก นอนราบไม่ได้ ใจสั่น หรืออาการที่แสดงถึงภาวะหัวใจล้มเหลว
• การรับไว้ในโรงพยาบาล (Admission) พิจารณาดังนี้
Class I : 1 wks. Before delivery
Class II : GA 28 wks.
-ยาละลายลิ่มเลือด ได้แก่ Heparin **Coumadin (“Warfarin) ห้ามใช้ ทำให้ทารกพิการ นอกจากนี้ ประเมินอาการ thrombosis, congestive heart failure (CHF)
• จัดท่านอนศีรษะสูง เตรียมออกซิเจนไว้
• ประเมินสัญญาณชีพอย่างใกล้ชิด
• จัดให้พักผ่อนอย่างเต็มที่
• ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือด
• บันทึก I/O
• ดูแลให้ได้รับสารอาหารและน้ำที่เพียงพอต่อร่างกาย
• ไม่เบ่งถ่ายอุจจาระ
• ให้ Breast Feeding ได้ในรายที่อาการไม่รุนแรง
• แนะนำการคุมกำเนิดที่ดีที่สุด คือ ถุงยางอนามัย
ไม่แนะนำการใส่ห่วงเพราะเพิ่มอุบัติการณ์การติดเชื้อควรทำหมัน ถุงยางอนามัย
Fasting plasma glucose 105 mg/dL
1 hour 190 mg/dL
ที่อายุครรภ์ 24 – 28 สัปดาห์ /มีความเสี่ยงสูง
หญิงตัังครรภ์ทุกคนควรจะได้รับการตรวจคัดกรองทุกคน
ตรวจเฉพาะหญิงตั้งครรภ์ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงที่จะเป็นเบาหวานในระหว่างตัั้งครรภ์
อายุมากกว่า 35 ปี
น้ำหนักมาก/อ้วน ( BMI≥ 27 kg /m2 ) 70+ kgs
เคยคลอดบุตรและทารกเสียชีวิตในครรภ์โดยไม่ทราบ
เคยคลอดทารกที่มี BW ≥ 4000กรัม
เคยคลอดทารกที่มีความพิการแต่กำเนิดโดยไม่ทราบสาเหตุ
ประวัติครรภ์ที่แล้วเป็นGDM
ประวัติครอบครัวเป็นเบาหวาน
อาหาร
Insulin ชนิดฉีด (GDM A2)
เกณฑ์ปกติของระดับน้ำตาลที่ต้องการควบคุม
▫ การควบคุมน้ำหนักของมารดา
▫ การตรวจสุขภาพและการเจริญเติบโตของทารกในครรภ
▫ การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด :
• อายุครรภ์ที่จะให้คลอด หลังอายุครรภK 38 สัปดาห์
• ประเมินน้ำหนักทารก
• เฝ้าระวังการเกิด shoulder dystocia
• ผ่าตัดคลอดเมื่อมีข้อบ่งชี้ทางสูติศาสตร์
• การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ใหQอยูhในชhวง 70 – 120 mg/dL
▫ ปกติGDMไม่จำเป็นต้องใช้insulin
▫ ถ้าจำเป็นจึงจะให้
• GDMA2 : งด insulin หลังคลอดไว้ก่อน
• ควรเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น : PPH ,
infection
• ประเมินระดับน้ำตาลในเลือดทารกภายใน 24 ชม.แรก
• สังเกตอาการน้ำตาลในเลือดต่ำของทารก
• ให้พิจารณาทางเลือกสำหรับคู่เสี่ยง
• การรักษาความสะอาดร่างกาย
• พักผ่อนให้เพียงพอ
• ไมhออกกำลังกายที่หนักเกินไป
• รับประทานยาตามแผนการรักษาของแพทย
• เตรียมมารดาในการคลอดด้านร่างกายและจิตใจ
• เตรียมเลือด สารน้ำและอุปกรณKการชhวยชีวิต
• ประเมินสัญญาณชีพและสุขภาพทารก
• ประเมินอาการนำของการติดเชื้อและตกเลือดในระยะคลอด
การพยาบาลระยะระยะหลังคลอด
• ประเมินสัญญาณชีพ
• ดูแลให้ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ และยาเสริมธาตุเหล็ก
• ดูแลให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
• ป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
• ให้คำแนะนำเรื่องการวางแผนการมีบุตร
• ส่งเสริมให้เลี้ยงลูกด้วยนมมารดา
•มีปัญหาในการขับถ่ายปัสสาวะ เช่น แสบขัด มีเลือดปนกะปริบกะปรอย
•มักไม่มีไข้/มีไข้ต่ำๆเนื่องจากการติดเชื้ออยู่ในกระเพาะปัสสาวะและเชื้อถูกขับออกเมื่อถ่าย
• ไม่กลั้นปัสสาวะ
• พักผ่อนให้เพียงพอ
• แนะนำการทำความสะอาดร่างกาย
• ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
• แนะนำสังเกตอาการที่ต้องมาโรงพยาบาลก่อนนัด เช่น Ut.contraction
• ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
• ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
• ประเมินสัญญาณชีพและบันทึก I/O
• แนะนำให้ดื่มน้ำปริมาณมาก ๆ
• อธิบายอาการไม่สุขสบาย อารมณ์หงุดหงิด โมโหงง่าย
• แนะนำการรับประทานอาหารที่มีโปรตีนและคาร์โบไฮเดรตสูง ดื่มน้ำมากๆ เลี่ยง
อาหารที่กระตุ้นให้ระบบเผาผลาญเพิ่ม
• แนะนำการมาฝากครรภ์ตามนัด
• แนะนำการรับประทานยาตามแพทย์สั่งอย่างเคร่งครัด
• แนะนำการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์: การพักผ่อน 8-10 ชั่วโมง หลีกเลี่ยงการออกกำลังกาย การนับและบันทึกลูกดิ้น
• จัดให้นอนพักบนเตียง
• ดูแลความสุขสบายให้เหมาะแก่การพักผ่อน
• ประเมินสัญญาณชีพ เพื่อป้องกันภาวะหัวใจล้มเหลว
• ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดและฟังเสียงหัวใจทารก
• ให้ผู้คลอดเบ่งน้อยที่สุด
• คำแนะนำในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาในรายที่มารดายังรับประทานยา PTU
• ให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวหลังคลอด
• ให้มาตรวจหลังคลอดตามนัด
• ให้รับประทานอาหารที่มีคุณค่า ให้ไอโอดีนอยhางเพียงพอ โดยเฉพาะในรายที่ให้นมบุตร
• สังเกตอาการแสดงทารก เช่น ง่วงซึม เคลื่อนไหวช้า หากพบอาการให้รายงานแพทย์
• แนะนำการวางแผนการมีบุตร
กรณีรับการรักษาในโรงพยาบาล
▫ ดูแลให้ได้รับประทานยาหรือพ่นยาตามแผนการรักษา
▫ จัดท่านอนศีรษะสูง และให่ออกซิเจน nasal cannula
▫ ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
▫ จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ สะอาด
▫ ช่วยเหลือการทำกิจวัตรประจำวัน
▫ ประเมินสัญญาณชีพ และเสียงหัวใจทารกเสมอ
▫ แนะนำการรับประทานอาหารและดื่มน้ำมาก ๆ
▫ เตรียมอุปกรณ์การช่วยเหลือชีวิตให้พร้อม
• ดูแลให้ได้รับความสุขสบาย
• ลดภาวะเครียด
• ดูแลให้ผู้คลอดและทารกปลอดภัย
• จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ ส่งเสริมการพักผ่อน
• ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
• แนะนำการปฏิบัติตัวระยะหลังคลอด
• ส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา