Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงการควบคุมการเจริญเติบโตและเมตาบอลิซึมของต่อมไร้ท่อ - Coggle…
การเปลี่ยนแปลงการควบคุมการเจริญเติบโตและเมตาบอลิซึมของต่อมไร้ท่อ
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการทำงานของต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อทำหน้าที่สัมพันธ์กับระบบประสาทในการควบคุมและประสานการทำงานของร่างกายที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโต เมทาบอลิซึม
หลั่งฮอร์โมนออกจากต่อมที่มีอยู่ตามร่างกาย ไปตามกระแสเลือดไปสู่เซลล์เนื้อเยื่อและเนื้อเยื่อเป้าหมาย
ในภาวะปกติออร์โมนที่สร้างจากต่อมไร้ท่อจะหลั่งออกมาเป็นช่วงๆ และอยูในกระแสเลือดช่วงหนึง
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
ควบคุมการหลั่งออร์โมนโดยไฮโปทาลามัส โดยหลั่ง Releasing/inhibiting ผ่านทางเส้นเลือด
การเปลี่ยนแปลงการทำงานของฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
ความผิดปกติที่เกิดจากการสร้างฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้ามาก (Hyperpituitarism)
การหลั่ง Growth hormone มากผิดปกติ
ส่วนใหญ่เกิดจากการมีเนื้องอกที่ Pituitary gland ถ้าเกิดในเด็กเรียกว่า Gigantism เกิดในผู้ใหญ่เรียก Acromedaiy
สาเหตุของการเกิด Acromegaly และ Gigantism
1.มีก้อนเนื้องอก (adenoma) ที่ต่อมใต้สมอง
2.ต่อมใต้สมองโต (Hyperplasia)
3.มีความผิดปกติของฮอร์โมนที่หลั่ง (Hypothalamus)
Acromegaly
Clinical Characteristics
โรคนี้มีอาการค่อยเป็นค่อยไปอย่างช้าๆ อาจใช้เวลา 5-10ปี กว่าจะทราบว่าเป็น พบในชายหญิงเท่าๆกัน อายุเฉลี่ยประมาณ 40 ปี
Signs and symptoms
อาการและอาการแสดงที่เกิดขึ้นจากมี GH หลั่งออกมา
1.1 มีการเปลี่ยนแปลงของกระดูก กระดูกอ่อนและเนื้อเยื่อ มักพบที่ใบหน้าและกะโหลกศีรษะ หน้าผากกว้าง จมูกใหญ่ คางใหญ่ ขากรรไกรล่างยื่นออกมามือเท้าใหญ่และหนาขึ้นโดยเฉพาะนิ้วมือ
Diagnosis
1.ประวัติและอาการแสดงทางคลินิกที่พบการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง โดยเปรียบเทียบจากรูปถ่ายเก่ากับปัจุบัน
2.ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ GH>10 ng/ml
3.การถ่ายภาพรังสีของกระโหลกศรีษะเพื่อดู sella turcica
Treatment
1.ผ่าโพรง Sphenoid ตัดก้อนเนื้องอกขนาดเล็กออกช่วยให้ระดับ GH ลดลงอย่างรวดเร็ว
2.รังสีรักษา ใช้เวลานาน
3.การรักษาทางยา
การหลั่ง ACTH มากกว่าปกติ (Cushing disease)
มีการหลั่ง ACTH จำนวนมากจากต่อม Pituitary ไปกระตุ้นให้ต่อมหมวกไตชั้นนอกโตทั้ง 2 ข้างและสร้าง cortisol ออกมาทำให้เกิดกลุ่มอาการคุชชิ่ง
การหลั่ง Prolacin มากผิดปกติ (Hyperprolactinemia)
เกิดจากหลายเหตุ มักเกี่ยวข่องกับการมีประจำเดือนและการมีน้ำนมไหล เป้นสิ่งบ่งชี้่ว่ามีเนื้องอก
Clinical Characteristics
1.อาการและอาการแสดงที่เกิดจากที่ระดับ Prolactin สูง
1.1 ในหญิงจะมีความผิดปกติของการมีประจำเดือน เกิดควบคู่ไปกับการมีน้ำนมไหล
1.2 ในชายพบว่าความรู้สึกทางเพสลดลงหรือหมดไป บางรายพบเต้านมโตแบบผู้หญิงหรือมีนมไหล
2.อาการและอาการแสดงที่เกิดจากก้อนเนื้องอกกดเบียดเนื้อเยื่อใกล้เคียง
Diagnosis
1.การเจาะเลือดหาระดับ basal ถ้าโปรแลคตินสูงก่าปกติ แสดงว่าเป็นเนื้องอก Pituitary gland และขนาดของก้อนมักจะใหญ่
การฉีด TRM ผู้ป่วยที่เป็น prolactinemia จำนวนโปรแลคตินจะไม่หลั่งเพิ่มขึ้นอีก
การหลั่ง Thyrotropin มากผิดปกติ
การหลั่ง TRH ออกจากเนื้องอกของ(pituitary adenoma) พบมากน้อยมาก ผู้ป่วยมักมีอาการของการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์มากร่วมกับมีคอพอก
การหลั่ง Gonadotropin มากผิดปกติ
เกิดจากเนื้องอกของเซลล์ที่มีขนาดใหญ่ทำให้ผู้ป่วยมีอาการผอดปกติทางสายตา
การทำงานของไฮโปทาลามัสและต่อมพิทูอิทาริ
เกิดความผิดปกติที่ไฮโปทาลามัสจะแสดงออกโดยมีความผอดปกติของการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมพิทูอิทาริ
ไฮโปทาลามัสเป็นบริเวณที่อยู่ในสมองใกล้ Optic Chiasm ติดกับต่อมพิทูอิทาริทาง pituitary stalk และต่อมพิทูอิทาริเป็นต่อมที่ฐานของสมองตั้งอยู่บนกระดูก sphenoid mี่เป็นแอ่ง sella turcica
การทำงานของ Hypothalamus และ Pituitary gland
ภาวะที่ต่อมทำหน้าที่มาก (Excessive of hyperfunction) หรือไม่เพียงพอ (insuffciency or deficiency or hypofunction)
กลไกการทำหน้าที่และการเปลี่ยนแปลงของ Anterior pituitary glad
กลุ่มแรกเป็นฮอร์โมนที่ไปกระตุ้นให้อวัยวะเป้าหมายสร้างฮอร์โมนออกมาเรียกฮอร์โมนพวกนี้ว่าฮอร์โมนกระตุ้นซึ่งจะมีคำต่อท้ายว่า " trophic hormone, trophin หรือ stimulating hormone " ได้แก่
อะดรีโนคอร์ติโคโทรฟริกฮอร์โมน
(adrenocortico trophic hormone )เรียกย่อว่า ACTH
ไทรอยด์ สติมูเลติงฮอร์โมน ( thyroid stimulating hormone ) เรียกย่อว่า TSH
ลูทิไนซิง ฮอร์โมน (luteinizing hormone ) เรียกย่อว่า LH หรือ อินเตอร์สติเชียลเซลล์ สติมิวเลติงฮอร์โมน( interstitial cell stimulating hormone) เรียกย่อว่า ICSH
ฟอลลิเคิลสติมิวเลติงฮอร์โมน ( follicle stimulating hormone )เรียกย่อว่า FSH
กลุ่มสองเป็นฮอร์โมนที่ไปมีผลต่ออวัยวะเป้าหมายโดยตรงไม่ได้กระตุ้นให้อวัยวะเป้าหมายสร้างฮอร์โมน ได้แก่
1 more item...
Adrenal gland
กลไกการทำหน้าที่และการเปลี่ยนแปลงของ
ต่อมหมวกไตมีความสำคัญอย่างยิ่ง ถ้าร่างกายขาดฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตจะไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ ฮอร์โมนในกลุ่มนี้จะควบคุมเมแทบอลิซึมของ คาร์โบไฮเดรท ไขมันและโปรตีน รักษาระดับสารน้ำในร่างกายและช่วยให้ร่างกายต่อสู้กับความเครียดต่อหตุการณ์ต่างๆทั้งในชีวิตประจำวันและยามฉุกเฉิน
Cushing Syndrome
1.มีความผิดปกติที่ pituitary gland พบได้ประมาณร้อยละ 80 ของจากสาเหตุทั้งหมดที่ร่างกายสร้างฮอร์โมนนี้มากเกินปกติ ส่วนใหญ่เกิดจากมีเนื้องอกหรือ tumor ทำให้มีการหลั่งฮอร์โมน ACTH มากกว่าปกติ จะเรียก Cushing'ssyndrome จากสาเหตุนี้ว่า Cushing’s disease หรือ Pituitary Cushing มักพบในผู้หญิงบ่อยกว่าผู้ชายประมาณ 3-6 เท่า
2.มี ectopic ACTH secretion เป็นสาเหตุที่พบได้น้อยมาก ๆ โดยมักเกิดจากมีเซลล์ผิดปกติในบางโรคที่สร้าง ACTHออกมา จึงเรียกว่า ectopic ACTH ไปกระตุ้นให้ adrenal cortex สร้าง glucocorticoid มากขึ้น เช่น จากมะเร็งปอดชนิดเซลล์ตัวเล็ก (small cell lung cancer), carcinoma of bronchus, carcinoid tumor, มะเร็งต่อมไทรอยด์ชนิดmedullary carcinoma
ลักษณะอาการ
หิวบ่อย กินจุ น้ำหนักเพิ่ม ใบหน้าอ้วนกลม (moon face) อ้วนขึ้นโดยเฉพาะกลางลำตัว มีพุง แต่แขนขาลีบ มีก้อนไขมันสะสมบริเวณส่วนกลางลำตัว ส่วนบน และด้านหลังคอ นอนไม่หลับ ปัสสาวะมากและบ่อย
Thyroid gland
ต่อมไทรอยด์ทำหน้าที่อย่างไร
ทำหน้าที่ผลิตและหลั่งไทรอยด์ฮอร์โมนเข้าสู่กระแสเลือด จากนั้นส่งไปออกฤทธิ์ที่อวัยวะต่างๆของร่างกาย ซึ่งจะอยู่ภายใต้การควบคุมของต่อมใต้สมอง(Pituitary gland)และต่อมไฮโปธาลามัส(Hypothalamus) โดยร่างกายจะมีระบบการควบคุมการทำงานของต่อมไทรอยด์อย่างดี เพื่อรักษาระดับไทรอยด์ฮอร์โมนให้อยู่ในเกณฑ์ปกติตลอดเวลา
1.อยู่ตรงกลางด้านหน้าของคอ: ใต้กล่องเสียง หน้าหลอดลม • รูปร่าง “ผีเสื้อ”
2 แฉกเชื่อมต่อด้วยคอคอดขนาด : วัยแรกรุ่นและการตั้งครรภ์ 3.ผลิตไทรอกซิน (T4) & Tri- ไอโอโดไทโรนีน (T3) แคลซิโทนิน: เกี่ยวข้องกับสภาวะสมดุลของแคลเซียมและฟอสเฟต
กลไกการทำหน้าที่แลละเปลี่ยนแปลง
Triiodothyronine (T,) เพิ่มอัตราการเผาผลาญพลังงานและโปรตีน
Thyroxine (T,) ฮอร์โมนหลัก เพิ่มอัตราการเผาผลาญพลังงานและโปรตีน
Calcitonin ควบคุมการเผาผลาญแคลเซียม ทำงานร่วมกับฮอร์โมนพาราไทรอยด์ 6 และวิตามินดี
Toxic goiter
การขาดไอโอดีนถ้าร่างกายได้รับไอโอดีนไม่เพียงพอจะส่งผลให้มีการผลิตไทรอยด์ฮอร์โมนได้น้อย(hypothyroidism) ซึ่งจะไม่มีสัญญาณย้อนกลับไปยับยั้งไฮโพทาลามัสทำให้มีสร้างฮอร์โมนไทรอยฮอร์โมนรีลีสซิงฮอร์โมน (Thyroid Releasing Hormone : TRH)มากขึ้น และไม่มีการยับยั้งต่อมใต้สมองส่วนหน้าทำให้มีสร้างไทรอยด์สติมิวเลติงฮอร์โมน (Thyroid Stimulating Hormone : TSH)เพิ่มมากขึ้นเช่นกัน ทำให้ต่อมไทรอยด์กระตุ้นให้สร้างฮอร์โมนไทรอกซินเพิ่มมากขึ้น จนต่อมไทรอยด์ทำงานมากเกินไป ต่อมจะโตขึ้นเรียกว่า โรคคอพอก (simple goiter)
Toxic nodular ก้อนกลมพิษ
• พบบ่อยในผู้สูงอายุ
• จากโรคคอพอกง่าย ๆ ที่ยืนยาว
• ก้อนเนื้อ
เนื้อเยื่อทำงาน
หลั่งไทรอกซินโดยอิสระจากTSH
Nontoxic ปลอดสารพิษ(แบบง่าย/ คอลลอยด์/ ยูไทรอยด์)
สาเหตุ ขาดสารไอโอดีน
HYPO- THYROIDISM
ต่อมไทรอยด์ทำงานผิดปกติ
Cretinism
ปัญญาอ่อนอย่างรุนแรง -ระบบประสาทส่วนกลาง/กล้ามเนื้อโครงร่าง
ขนาดสั้น
Myxedema
Myxedema coma เกิดจากหลายสาเหตุที่มากระตุ้นผู้ป่วยที่มีภาวะ hypothyroid อยู่เดิม ซึ่งสาเหตุกระตุ้นที่พบบ่อยคือ เกิดจากการติดเชื้อโดยเฉพาะปอดอักเสบ นอกจากนี้ยังถูกกระตุ้นจากโรคหัวใจ (myocardial infarction, congestive heart failure), cerebral infarction, อุบัติเหตุ
Parathyroid gland
ฮอร์โมน parathyroid hormone (PTH) หรือ พาราทอร์โมน (parathormone)
หน้าที่ คือ ควบคุมสมดุลของเเคลเซียมในเลือดให้คงที่โดยจะทำให้ระดับเเคลเซียมในเลือดสูงขึ้น หรือ เพิ่มระดับเเคลเซียมในเลือด ซึ่งจะ
ทำให้กระดูกสลายเเคลเซียม (Ca) ออกมา ทำให้ Ca ในเลือดเพิ่มขึ้น การปลดปล่อย Ca ของกระดูกจะมีผลให้มีการปลดปล่อยฟอสฟอรัส (PO4-) ด้วย ซึ่งจะทำให้เป็น โรคไตเรื้อรัง
เพิ่มการดูดซึม Ca ที่ลำไส้เล็กมากขึ้น
กลไกการควบคุมการหลั่ง PTH เป็นกลไกแบบยับยั้งย้อนกลับ โดยใช้ระดับความเข้มข้นของ Ca ในเลือด
เมื่อ Ca ในเลือดสูงขึ้นจะมีผลให้ PTH หลั่งลดลง แต่เมื่อ Ca ลดลง PTH จะหลั่งออกมามากขึ้น โดยทั่วไปการทำงานของ PTH จะทำงานร่วมกันกับฮอร์โมนแคลซิโทนิน (calcitonin) จากต่อมไทรอยด์ ฮอร์โมนแคลซิโทนิน เป็นฮอร์โมนที่ผลิตจาก C- cell หรือ parafollicular cell ที่อยู่ข้างๆฟอร์ลิเคิลในต่อมไทรอยด์ เป็นฮอร์โมนที่มีหน้าที่ในการควบคุมระดับแคลเซี่ยมในเลือดเช่นเดียวกับฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ แต่จะทำงานเมื่อระดับของ Ca ในเลือดสูงกว่าปกติ โดยไปยับยั้งการสลายตัวของกระดูกและการดูดซึมเเคลเซียม
ความผิดปกติของร่างกายเนื่องจากพาราฮอร์โมน
อาการผิดปกติเนื่องจากการขาดพาราทอร์โมน หรือพาราทอร์โมนมีน้อย อาการผิดปกติอาจจะหายไปเมื่อฉีดด้วยพาราทอร์โมนพร้อมกับวิตามินดีเพราะวิตามินดีจะช่วยทำให้พาราทอร์โมนทำงานหน้าที่ได้ดียิ่งขึ้น
ถ้าต่อมพาราไทรอยด์สร้างฮอร์โมนมากเกินไปจะไปกระตุ้นให้สลายแคลเซียมและฟอสฟอรัสออกจากกระดูกและฟัน ทำให้เลือดมีแคลเซียมสูงกว่าปกติเกิดอาการกระดูกบาง ฟันหัก และผุง่าย